Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/12252
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorมานพ พงศทัต-
dc.contributor.advisorชวลิต นิตยะ-
dc.contributor.authorโสภิดา บุญเจริญ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์-
dc.coverage.spatialไทย-
dc.coverage.spatialนครนายก-
dc.date.accessioned2010-03-16T03:39:19Z-
dc.date.available2010-03-16T03:39:19Z-
dc.date.issued2545-
dc.identifier.isbn9741721889-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/12252-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (คพ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545en
dc.description.abstractศึกษานโยบายด้านสวัสดิการที่อยู่อาศัย สภาพที่อยู่อาศัยในปัจจุบัน ความต้องการที่อยู่อาศัย และข้อเสนอแนะให้แก่ศูนย์การแพทย์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เพื่อใช้วางแผนในการจัดสวัสดิการที่อยู่อาศัยต่อไปในอนาคต กลุ่มประชากรที่ใช้ศึกษาคือ บุคลากรที่ทำงานในศูนย์การแพทย์ฯ จำนวน 368 คน โดยได้รับแบบสอบถามกลับคืนจำนวน 302 ชุด คิดเป็น 82.1% เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แบบสอบถามที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น วิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้ร้อยละ และ Cross tabulation จากการศึกษาพบว่า ได้มีการกำหนดแผนและโครงการด้านสวัสดิการที่พักอาศัย สำหรับบุคลากรของศูนย์การแพทย์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี มาแต่เดิม แต่ไม่สามารถดำเนินการได้ตามแผน เนื่องจากประสบภาวะวิกฤตทางเศรษฐกิจ ขาดงบประมาณ ปัจจุบันศูนย์การแพทย์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ได้จัดสวัสดิการที่อยู่อาศัยให้บุคลากรใน 2 รูปแบบคือ ด้านเงินกู้จากสหกรณ์ออมทรัพย์และการจัดสร้างหอพัก จากการศึกษาพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นพยาบาลเพศหญิง อายุระหว่าง 21-25 ปี สถานภาพโสด การศึกษาระดับปริญญาตรี มีรายได้ประจำต่อเดือน 5,001-10,000 บาท มีรายได้ของครอบครัวต่ำกว่า 20,000 บาทต่อเดือน ส่วนในเรื่องสภาพที่อยู่อาศัยในปัจจุบันพบว่า บุคลากรที่ทำงานในศูนย์การแพทย์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี มีการพักอาศัยทั้งในและนอกศูนย์การแพทย์ฯ โดยผู้ที่พักอาศัยในศูนย์การแพทย์ฯ จำนวน 173 คน ส่วนใหญ่พักในหอพักนิสิตแพทย์ และมีปัญหาที่อยู่อาศัย มีความต้องการครอบครองที่อยู่อาศัยใหม่ในอนาคตโดยการซื้อ/เช่าซื้อ ส่วนผู้ที่พักอาศัยนอกศูนย์การแพทย์จำนวน 129 คน ส่วนใหญ่พักในบ้านเดี่ยว-บ้านแฝด ไม่มีบ้านเป็นของตนเองเพราะเป็นผู้อาศัยหรือเช่า และไม่มีปัญหาที่อยู่อาศัย แต่มีความต้องการครอบครองที่อยู่อาศัยใหม่ในอนาคตโดยการซื้อ/เช่าซื้อเช่น กัน สำหรับเรื่องความต้องการที่อยู่อาศัยของบุคลากรที่ทำงานในศูนย์การแพทย์ฯ ในอนาคต พบว่า ในกลุ่มซื้อ/เช่าซื้อ ต้องการมีที่อยู่อาศัยเป็นของตนเอง มีความต้องการที่อยู่อาศัยเป็นบ้านเดี่ยว-บ้านแฝด ราคา 500,001-1,000,000 บาท จำนวนเงินที่ผ่อนส่งได้ 5,001-10,000 บาทต่อเดือน โดยมีปัจจัยในการเลือกซื้อที่อยู่อาศัยคือ ต้องการพื้นที่ใช้สอยมากขึ้น และต้องการให้ศูนย์การแพทย์ฯ ช่วยเหลือโดยการหาวงเงินกู้เคหสงเคราะห์ หรือสร้างที่อยู่อาศัยให้ผ่อนซื้อ โดยร่วมมือกับภาคเอกชนหรือการเคหะแห่งชาติ โดยกลุ่มแพทย์มีความต้องการมากที่สุด ส่วนเรื่องความช่วยเหลือจากศูนย์การแพทย์ฯ เรื่องการซ่อมแซมพบว่า ส่วนใหญ่ต้องการสวัสดิการช่วยดอกเบี้ยเงินกู้ที่อยู่อาศัย โดยกลุ่มสนับสนุนการแพทย์มีความต้องการมากที่สุด ส่วนในเรื่องความช่วยเหลือจากศูนย์การแพทย์ฯ เรื่องการเช่าพบว่า ต้องการจัดที่พักในหลายๆ ทำเล และสะดวกต่อการเดินทาง โดยกลุ่มพยาบาลมีความต้องการมากที่สุด ทั้งนี้บุคลากรทั้ง 3 กลุ่ม สามารถตอบสนองความต้องการที่แท้จริงของตนเองได้ โดยกลุ่มแพทย์และพยาบาลจะมีความสามารถสูงกว่าen
dc.description.abstractalternativeTo study the housing welfare policy, the current housing situation and the needs for residence of the Maha Chakri Sirindhorn Medical Centreʼs personnel in order to provide recommendations regarding the future planning for arrangement of housing welfare. The population of this study consisted of 368 Medical Centreʼs staff. Questionnaires designed by the researcher were distributed, of which 302 questionnaires or 82.1% were returned. The data was then analysed by means of percentage and cross tabulation. It was discovered that the HRH Princess Maha Chakri Sirindhorn Medical Centre had once set up a housing welfare plan and project for its staff. However, due to the economic crisis, there was no budget, so the plan had to be shelved. At present, the Medical Centre provides housing welfare for its personnel in two respects: giving loans through the savings cooperation and providing halls of residence. The study revealed that most respondents of the questionnaires were female nurses, aged between 21-25 years old. Most of them were single, holders of bachelorʼs degrees with a monthly salary ranging from 5,001-10,000 baht. Their monthly family incomes were lower than 20,000 baht. Regarding the current housing situation, it was found that the Medical Centreʼs staff took up residence both inside and outside the Centre. There were 173 personnel living on the premises, particularly in the residence halls for medical students. These people had housing problems. They wanted to have a place of their own to live and wished to purchase or hire-purchase a place to live in the future. As for the other 129 members of staff who took up residence outside the Medical Centre, most of them lived in rented single or twin houses. These people did not have problems regarding housing. However, they also had the need to own a house and wished to purchase or hire- purchase a place of their own to live in the future. In terms of the needs for future residence of the staff members, it was found that those who wanted to have their own living place wished to hire-purchase single or twin houses within the price range of 500,001-1,000,000 baht and pay 5,001-10,000 baht in monthly installments. The most important reason for their need to buy houses was the need for more living space. They wanted the Medical Centre to help them either by providing housing loans or by working in cooperation with private sector and National Housing Authority so that they could buy in installments. The group of people who had this need the most were medical doctors. Regarding the need for housing repair, the staff members wished to have assistance regarding the interest rates of the housing repair loans. In this respect, the group of people who had such a need were the members of the medical support staff. Regarding the assistance about rented accommodation, it was found that some personnel wanted to live in rented houses situated in various locations convenient for travelling. The nurses were the group of people who had this need the most. While the people in these three groups were able to respond to their needs, doctors and nurses were the more capable groups.en
dc.format.extent2814631 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2002.356-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectศูนย์การแพทย์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีen
dc.subjectความต้องการที่อยู่อาศัยen
dc.subjectบุคลากรสาธารณสุข -- ที่อยู่อาศัยen
dc.subjectสวัสดิการในโรงพยาบาลen
dc.titleที่อยู่อาศัยของบุคลากรในศูนย์การแพทย์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ อำเภอองครักษ์ จังหวัดนครนายกen
dc.title.alternativeResidence for HRH Princess Maha Chakri Sirindhorn Medical Centre's personnel in Srinakharinwirot University, Amphoe Ongkharak, Nakhon Nayoken
dc.typeThesises
dc.degree.nameเคหพัฒนศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineเคหการes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
dc.email.advisorChawalit.N@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2002.356-
Appears in Collections:Arch - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Sopida.pdf2.75 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.