Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/12549
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorธรรมนูญ หนูจักร-
dc.contributor.authorอมร เพชรสม-
dc.contributor.authorวาสนา โตเลี้ยง-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สถาบันเทคโนโลยีชีวภาพและวิศวกรรมพันธุกรรม-
dc.date.accessioned2010-04-21T10:00:54Z-
dc.date.available2010-04-21T10:00:54Z-
dc.date.issued2551-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/12549-
dc.description.abstractงานวิจัยนี้ได้พัฒนาวิธีการเตรียมตัวอย่างซอสพริก สำหรับปริมาณวิเคราะห์แคปไซซินอยด์ (CAPs) ด้วยเทคนิคไมเซลลาร์อิเล็กโทรไคเนทิกโครมาโทกราฟี (MEKC) ที่ได้พัฒนาแล้วจากงานวิจัยก่อนหน้านี้ โดยศึกษาและเปรียบเทียบผลของชนิดของตัวทำละลายอินทรีย์ที่ใช้สกัด (เอทิลอะซิเตตหรืออะซิโตไนไทรล์) แบบที่เติมเกลือและไม่เติมเกลือ พบว่าการสกัดตัวอย่างด้วยเอทิลอะซิเตตแบบเติมเกลือให้ประสิทธิภาพของการสกัด CAPs ที่ดีกว่า เมื่อศึกษาการสกัดด้วยวิธีนี้ โดยใช้ซอสพริกเตรียมที่ประกอบด้วย CAPs ที่ 20, 50 และ 100 ppm (µg/g) พบว่าได้ recovery ในช่วง 96-105% แสดงว่ามีความเที่ยงสูงทั้งภายในวัน (RSD <3.7%, n=5 batch) และต่างวันกัน (RSD <2.5%, เป็นเวลา 5วัน) เมื่อวิเคราะห์ตัวอย่างซอสพริกจริง 8 ตัวอย่าง ด้วย MEKC โดยเตรียมตัวอย่างด้วยวิธีที่พัฒนาขึ้น พบว่ามีปริมาณ CAPs ในช่วง 21-128 ppm โดยที่ 3 ตัวอย่างมีปริมาณ CAPs มากกว่า 50 ppm ซึ่งเกินปริมาณจำกัดของสหภาพยุโรป (European Commission) นอกจากนี้ปริมาณ CAPs ที่วิเคราะห์ได้จากต่างยี่ห้อกันไม่มีความสัมพันธ์กับปริมาณพริกในซอสพริกและระดับความเผ็ดที่ระบุไว้ ดังนั้น MEKC และวิธีการเตรียมตัวอย่างที่พัฒนาขึ้นนี้จึงเป็นอีกทางเลือกหนึ่งของการวิเคราะห์ปริมาณ CAPs ในซอสพริก เพื่อควบคุมคุณภาพของผลิตภัณฑ์และเป็นข้อมูลความปลอดภัยของผู้บริโภคได้en
dc.description.abstractalternativeThe sample preparation for micellar electrokinetic chromatographic (MEKC) determination of capsaicinoids in chili sauces was developed using solvent extraction (ethyl acetate or acetonitrile) with and without addition of salts. Results showed that ethyl acetate extraction with adding salts provided better extraction efficiency. Using the prepared sauces spiked with 20, 50 and 100 ppm (µg/g) CAPs, high recoveries of 96-105% were obtained with high precision for intraday (RSD <3.7%, n=5 batch) and interday (RSD <2.5%, 5 days, n=25). This validated method was used for MEKC determination of CAPs in eight samples of chili sauces, and 21-128 ppm CAPs were found. It should be noted that three of them contain CAPs of higher than 50 ppm, which is above limited levels recommended by European Commission. In addition, the determined CAPs in chili sauces are neither correlated with their chili content nor hot degree labeled on each product. Therefore, this developed method may be used as an alternative method for determination of CAPs in chili sauces for quality control and health safety.en
dc.description.sponsorshipสนับสนุนโดยงบประมาณแผ่นดิน ปี 2551en
dc.format.extent4049001 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.58837/CHULA.RES.2008.1-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectแคปไซซินen
dc.subjectไดไฮโดรแคปไซซินen
dc.subjectสารสกัดจากพืชen
dc.subjectพริกen
dc.subjectพริก -- วิเคราะห์และเคมีen
dc.titleการพัฒนาวิธีการวิเคราะห์และการหาปริมาณแคปไซซินและไดไฮโดรแคปไซซิน ในผลิตภัณฑ์พริกและอาหารรสเผ็ด : รายงานฉบับสมบูรณ์ ปี 2551en
dc.title.alternativeDevelopment of analytical methods and determination of capsaicin and dihydrocapsaicin in chili products and hot spicy fooden
dc.typeTechnical Reportes
dc.identifier.DOI10.58837/CHULA.RES.2008.1-
Appears in Collections:Sci - Research Reports

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thummanoon_Cap.pdf3.95 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.