Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/12876
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกาญจนา แก้วเทพ-
dc.contributor.authorปิยะฉัตร ปาลานุสรณ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิเทศศาสตร์-
dc.coverage.spatialอำนาจเจริญ-
dc.date.accessioned2010-06-14T02:01:34Z-
dc.date.available2010-06-14T02:01:34Z-
dc.date.issued2549-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/12876-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (นศ.ม.) -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549en
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ ประการแรกเพื่อศึกษาความสามารถด้านการสื่อสารเพื่อสุขภาวะของสื่อบุคคล ที่ทำหน้าที่ อสม.และได้รับรางวัลดีเด่นระดับชาติ พ.ศ. 2547 -2549 ในจังหวัดอำนาจเจริญ ใน 2 ประเด็น คือ การจัดการข่าวสารและความรู้ด้านสุขภาพ เป็นการสื่อสารขาเข้า (In put) และ กลยุทธ์การสื่อสารเพื่อสุขภาวะ เป็นการสื่อสารขาออก (Out Put) และประการที่สอง เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งเสริมความสำเร็จ และ/หรือ เป็นอุปสรรคในการทำหน้าที่สื่อบุคคลในชุมชน กลุ่มตัวอ่างเป็น อสม.ดีเด่นระดับชาติ จำนวน 4 คน ดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์และการสังเกต ผลการวิจัยพบว่า 1. การจัดการข่าวสารและความรู้ด้านสุขภาพ ของกลุ่มตัวอย่างมีดังนี้ 1.1 การแสวงหาข่าวสารและความรู้ ของ อสม. ส่วนใหญ่เป็นแบบมีปฏิสัมพันธ์เพื่อให้ได้ข้อมูลข่าวสาร มีลักษณะการสื่อสารแบบสองทาง ซึ่งเป็นการสื่อสารที่ทำให้เกิดผลดีกับการพัฒนาในชุมชน แหล่งข้อมูลที่ อสม. แสวงหาเพื่อทำบทบาทหน้าที่สื่อบุคคลนั้น แบ่งเป็น 3 กลุ่ม ดังนี้ 1) กลุ่มบุคคล ได้แก่ เจ้าหน้าที่สาธารณสุขชาวบ้าน 2) กลุ่มสถาบัน ได้แก่ หน่วยงานสาธารณสุข ชุมชน 3) สื่อ ได้แก่ วิทยุ โทรทัศน์ หนังสือพิมพ์ หนังสือ เอกสาร วารสาร 1.2 การจัดการข่าวสารและความรู้ แบ่งออกเป็น 4 ขั้น คือ 1) ตรวจสอบ ได้แก่ ศึกษาข้อมูล ตรวจสอบข้อมูล ทดลองปฏิบัติ 2) วิเคราะห์ ได้แก่ การแปลงสาร เตรียมสารให้เหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย 3) จัดระบบ ได้แก่การจัดลำดับความสำคัญของสาร ทบทวน 4) เผยแพร่ ได้แก่ การถ่ายทอด การจัดการให้เกิดการเข้าถึงข้อมูลข่าวสาร 1.3 การจัดเก็บข่าวสารและความรู้ อสม. มีการจัดเก็บความรู้โดยนัยมากกว่า การจัดเก็บความรู้ชัดแจ้ง 2. อสม. ใช้กลยุทธ์การสื่อสารเพื่อสุขภาวะในชุมชน 9 กลยุทธ์ ได้แก่ 1) กลยุทธ์การสื่อสารเพื่อการโน้มน้าวใจ 2) กลยุทธ์การสื่อสารแบบมีส่วนร่วม 3) กลยุทธ์การสื่อสารเพื่อสร้างเครือข่าย 4) กลยุทธ์การสื่อสารโดยใช้ข้อตกลงร่วมกัน 5) กลยุทธ์การสื่อสารแบบให้คุณให้โทษ 6) กลยุทธ์การสื่อสารเพื่อให้เกิดการแข่งขันอย่างสร้างสรรค์ 7) กลยุทธ์การสื่อสารเพื่อให้คำปรึกษา 8ป การสื่อสารเพื่อลดความขัดแย้ง 9) กลยุทธ์การสื่อสารเพื่อสร้างสำนึกรักชุมชน 3. ปัจจัยแวดล้อมที่เอื้อต่อความสำเร็จ และ/หรือเป็นอุปสรรคในการทำหน้าที่สื่อบุคคลในการทำหน้าที่สื่อบุคคลในชุมชนมี 6 ประการ แบ่งปัจจัยเป็น 3 ประเภท ดังนี้ 1. ปัจจัยส่งเสริม ได้แก่ ตัว อสม. ครอบครัว องค์กร และจากตัว อสม. 2. ปัจจัยส่งเสริมและเป็นอุปสรรค ได้แก่ บุคคล 3. ปัจจัยที่เป็นอุปสรรค ได้แก่ ด้านเศรษฐกิจ.en
dc.description.abstractalternativeThe objective of this research are ; (1) To study the communication competency for well-being of personal media who practiced as health volunteers in Amnat Charoen province were rewarded as The National Excellent Prized between 2004 to 2006, which are health information and knowledge management in the input communication and well being communication strategy in the output communication. (2) To study the supporting and / or obstacle factors to the personal media success in community. Data collection had been done by interview and observation of the 4 Nation 2004 to 2006 Excellent Prized Village Health Volunteers. The results are as follows. 1. The information and health knowledge management are:- 1.1) The information and knowledge seeking of Village Health Volunteers are in two-way communication forms which are very effective for the community development. The data sources can be separated into 3 groups 1) Persons; Public Health Officer, Villagers 2) Institute; The Public Health Organization, Community 3) Mass Media; Radio, TV, Newspapers, Book, Document, Journal. 1.2) The information and knowledge management are separated into four steps; 1. Checking: studying, checking information and try practicing 2. Analysis: data and massage selection to the suitable targets. 3) System management: Data respective and review 4) Diffusion: initiation and introduction, encouraging for data accessibility. 1.3) Information and knowledge keeping; The Excellent Health Volunteers have more tacit knowledge than explicit knowledge. 2. The Excellent Health Volunteers used 9 strategies in communication for well-being which are : 1) communication strategy for persuasive, 2) communication strategy for participatory, 3) communication strategy for network building, 4) communication strategy for corrective, 5) communication strategy for reward and punishment, 6) communication strategy for creative competition, 7) communication strategy for consultancy, 8) communication strategy in order to reduce conflict, and 9) communication strategy for awareness community. 3. Surrounding factors to success and or obstacle of the personal media communication are found in 3 categories; 1. Supporting factor are family, organization, and The Excellent Health Volunteers 2. Both support and obstacle factors is person. 3. Obstacle factor is economic.en
dc.format.extent2258959 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2006.1516-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectอาสาสมัครสาธารณสุข -- ไทย -- อำนาจเจริญen
dc.subjectการสื่อสารทางการแพทย์ -- ไทย -- อำนาจเจริญen
dc.titleความสามารถด้านการสื่อสารเพื่อสุขภาวะของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) ดีเด่นระดับชาติ จังหวัดอำนาจเจริญen
dc.title.alternativeCommunication competency for the well-being of nationally outstanding village health volunteers in Amnat Charoen provinceen
dc.typeThesises
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineนิเทศศาสตรพัฒนาการes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorKanjana.Ka@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2006.1516-
Appears in Collections:Comm - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Piyachat.pdf2.21 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.