Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/12996
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorSasarux Petcherdchoo-
dc.contributor.authorDuangkamon Mongkhonlarpcharoen-
dc.contributor.otherChulalongkorn University. Faculty of Arts-
dc.date.accessioned2010-06-25T08:27:06Z-
dc.date.available2010-06-25T08:27:06Z-
dc.date.issued2007-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/12996-
dc.descriptionThesis (M.A.)--Chulalongkorn University, 2007en
dc.description.abstractบทคัดย่อเป็นภาษาจีนen
dc.description.abstractalternativeการศึกษาวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาเปรียบเทียบโครงสร้างส่งต่อความสัมพันธ์ ในภาษาจีนกลางกับคำภาษาไทยในลักษณะเดียวกัน เพื่อให้นักศึกษาไทยเข้าใจและสามารถใช้โครงสร้างส่งต่อความสัมพันธ์ได้อย่างถูกต้อง และเพื่อให้อาจารย์ผู้สอนภาษาจีนกลางเข้าใจสถานการณ์และสาเหตุของข้อผิดพลาดของนักศึกษาไทยในการใช้โครงสร้างส่งต่อความสัมพันธ์ นอกจากนี้ยังเสนอแนวทางการสอนโครงสร้างส่งต่อความสัมพันธ์ ให้แก่นักศึกษาไทยอีกด้วย ผลการวิจัยพบว่า ในด้านโครงสร้างทางไวยากรณ์ ภาษาจีนกลางและภาษาไทยมีโครงสร้างทางไวยากรณ์ที่คล้ายกัน เช่น โครงสร้างส่งต่อความสัมพันธ์ในจีนและไทยมีโครงสร้างดังนี้ “ประธาน + กริยา + กรรม + กริยา เป็นต้น นอกจากนี้โครงสร้างทางไวยากรณ์ที่แตกต่างกันคือส่วนขยาย เช่น ภาษาจีนกลางสามารถวางคำปฏิเสธไว้หน้ากริยาตัวแรก แต่ภาษาไทยสามารถวางคำปฏิเสธไว้ได้ทั้งข้างหน้ากริยาแรก และกริยาที่สอง เป็นต้น ส่วนในด้านความหมาย ภาษาจีนกลางและภาษาไทยสามารถหาคำเทียบเคียงกับกริยาหลักของโครงสร้างส่งต่อความสัมพันธ์ได้เช่น เพื่อแสดงความหมายสั่งให้กระทำ เพื่อแสดงความหมายขอร้อง เพื่อแสดงความหมายเชื้อเชิญ เพื่อแสดงความหมายให้อนุญาต และเพื่อแสดงความหมายเป็นฝ่ายถูกกระทำเป็นต้น สาเหตุของข้อผิดพลาดของนักศึกษาไทยในการใช้โครงสร้างส่งต่อความสัมพันธ์ได้แก่ (1)กระบวนการเรียนรู้โครงสร้างส่งต่อความสัมพันธ์ของนักศึกษาไทยไม่ถูกต้อง (2) การศึกษาเปรียบเทียบโครงสร้างส่งต่อความสัมพันธ์ในภาษาจีนกลางและภาษาไทยไม่ถูกต้อง (3) กฎเกณฑ์การใช้โครงสร้างส่งต่อความสัมพันธ์ยุ่งยาก สำหรับแนวทางการสอนประโยคโครงสร้างส่งต่อความสัมพันธ์ให้แก่นักศึกษาไทยนั้น ได้กำหนดโดยอาศัยสถิติที่เกิดข้อผิดพลาดมาจัดลำดับการสอน โครงสร้างไวยกรณ์หรือความหมายที่มีข้อผิดพลาดในการใช้น้อยควรสอนในลำดับแรก จากนั้นควรเป็นโครงสร้างไวยกรณ์หรือความหมายที่มีข้อผิดพลาดในการใช้สูงen
dc.format.extent1351831 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isozhes
dc.publisherChulalongkorn Universityen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2007.2044-
dc.rightsChulalongkorn Universityen
dc.subjectChinese language -- Grammaren
dc.subjectChinese language -- Sentencesen
dc.titlePedagogical grammar of Chinese pivotal sentences for Thai university studentsen
dc.title.alternativeไวยากรณ์เพื่อการสอนประโยคโครงสร้างส่งต่อความสัมพันธ์ ในภาษาจีนกลางให้แก่นักศึกษาไทยen
dc.typeThesises
dc.degree.nameMaster of Artses
dc.degree.levelMaster's Degreees
dc.degree.disciplineChinesees
dc.degree.grantorChulalongkorn Universityen
dc.email.advisorSasarux.P@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2007.2044-
Appears in Collections:Arts - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Duangkamon_mo.pdf1.32 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.