Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/13145
Title: Chikamatsu กับทฤษฎีศิลปะการละคร
Other Titles: Chikamatsu and his dramatic theory
Authors: ลัดดา แก้วฤทธิเดช
Email: Ladda.Ka@Chula.ac.th
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะอักษรศาสตร์
Subjects: หุ่นและการเล่นหุ่น -- ญี่ปุ่น
Issue Date: 2542
Publisher: คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Citation: วารสารอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 28,ฉ.พิเศษ(ก.ย. 2542),34-44
Abstract: Joururi หรือชื่อเรียกในปัจจุบันว่า Bunraku เป็นศิลปะการแสดงละครหุ่นที่งดงาม มีเสน่ห์ดึงดูดตาดึงดูดใจผู้ชมทั่วโลก ซึ่งใช้ศิลปะการเชิดหุ่นผสมผสานกับการขับร้องลำนำเล่าเรื่องราว แทรกบทสนทนาของตัวละครประกอบเครื่องดนตรี Shamisen ซึ่งได้รับการขัดเกลาทางศิลปะเป็นอย่างดี นับเป็นศิลปวัฒนธรรมอย่างหนึ่งของญี่ปุ่นที่ได้รับการอนุรักษ์ไว้จวบจนทุกวันนี้ Chikamatsu Monzaemon (ค.ศ. 1653-1724) เป็นนักเขียนบทละคร Joururi และบทละคร Kabuki แนวสัจนิยมที่มีชื่อเสียงในปลายศตวรรษที่ 16 ถึงต้นศตวรรษที่ 17 เขาได้เล่าเรื่องเกี่ยวกับทฤษฎีศิลปะการละครของเขาให้แก่ Hoizumi Ikan ผู้ได้บันทึกทฤษฎีที่ได้รับการขนานนามว่า ทฤษฎี “Kyojitsu-Hiniku Ron” ไว้ในบทนำของหนังสือชื่อ Naniwamiyage ข้าพเจ้าหวังว่าการศึกษาอย่างใกล้ชิดถึงทฤษฎีการละครของอขาประกอบกับการอ่านผลงานชิ้นเอกเรื่อง Shinjuu Tenno Amijima จะสามารถเปิดประตูไปสู่ความเข้าใจในศิลปะการแสดง Bunraku รวมทั้งความสามารถในการอ่านบทตัวละคร Joururi ในฐานะที่เป็นวรรณกรรมเอก ประเภทหนึ่งของญี่ปุ่น
Other Abstract: Joururi, or Bunraku in present days, is the most fascinating puppet theater in the world, with one of the most sophisticated musical narrative traditions alive today. Chikamatsu Monzaemon was an early Edo period’s Joururi and Kabuki playwright who had told about his methods of playwriting to Hoizumi Ikan which was recorded in the book called “Naniwamiyage”. His theory is named as “Kyojitsu-Hiniku Ron”. By Introduction the Thai translation of this theory and focusing specifically on his masterpiece called “Shinjuu Tenno Amijima”. I hope to open a door to Bunraku understanding as a performarce tradition and a masterpiece of Classical Japanese Literature as well.
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/13145
ISSN: 0125-4820
Type: Article
Appears in Collections:Arts - Journal Articles

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Ladda_Chika.pdf910.98 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.