Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/13258
Title: Preparation and characterization of hydrogel from chitin derivative and silk fibroin
Other Titles: การเตรียมและการศึกษาคุณสมบัติของไฮโดรเจลที่เตรียมจากอนุพันธ์ของไคตินและโปรตีนจากเส้นใยไหม : รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์
Authors: Ratana Rujiravanit
Email: Ratana.R@Chula.ac.th
Other author: Chulalongkorn University. Petroleum and Petrochemical College
Subjects: Chitosan
Silk
Colloids
Diffusion
Issue Date: 2003
Publisher: Thailand Research Fund
Abstract: Natural polymer blend films composed of chitosan and silk fibroin were prepared by solution casting technique with various ratios of chitosan to silk fibroin, using glutaraldehyde as crosslinking agent. The effects of the ratio of chitosan to silk fibroin and crosslinking agent on mechanical properties, swelling behavior and drug releasing property of the blend films were studied. For the swelling behavior, the blend films exhibited a dramatic change in the degree of swelling when immersed in acidic solutions. The blend film with 80% chitosan content had the maximum degree of swelling. It appeared that crosslinking occurred in the blend films helped the films retain their three dimensional structure. In addition, FTIR spectra of the films showed evidence of hydrogen bonding interaction between chitosan and silk fibroin. Drug release characteristics of the blend films with various blend compositions were investigated using theophylline, diclofenac sodium, amoxicillin trihydrate and salicylic acid as model drugs. It was found that the blend film with 80% chitosan content showed the maximum amount of drug release at pH 2.0 for all types of drugs. The maximum amount of salicylic acid, theophylline, diclogenac sodium and amoxicillin release from blend films with 80% chitosan content at pH 2.0 were 92.7%, 81.1%, 76.6%, and 37.2%, respectively. Drug release properties of the films with various blend compositions were also investigated using a modified Franz Diffusion cell and pig skin was used as material representing human skin.
Other Abstract: ศึกษาการเตรียมแผ่นฟิล์มของพอลิเมอร์ผสมระหว่างไคโตซานและไฟโบรอิน จากเส้นใยไหมที่มีอัตราส่วนของไคโตซานและไฟโบรอินต่างๆ กัน โดยการขึ้นรูปจากสารละลายกลูตารัลดีไฮด์เป็นสารที่ก่อให้เกิดการเชื่อมโยงที่เติมลงในพอลิเมอร์ผสม เพื่อทำให้เกิดโครงสร้างแบบร่างแหภายในแผ่นฟิล์ม โดยศึกษาผลของอัตราส่วนในการผสมของไคโตซานและไฟโบรอินที่มีต่อสมบัติทางกล สมบัติการบวมตัวในสารละลาย และสมบัติในการควบคุมการปลดปล่อยยาออกจากแผ่นฟิล์ม จากผลการวิเคราะห์สเปคตรัมที่ได้จากฟูเรียร์ทรานสฟอร์มสเปคโตรโฟโตมิเตอร์ พบว่ามีพันธะไฮโดรเจนเกิดขึ้นระหว่างไคโตซานและไฟโบรอิน สำหรับสมบัติการบวมตัวของแผ่นฟิล์มของพอลิเมอร์ผสม พบว่า ค่าการบวมตัวแผ่นฟิล์มของพอลิเมอร์ผสมมีค่าสูงสุดเมื่อมีปริมาณไคโตซานในแผ่นฟิล์ม 80% นอกจากนี้การเติมสารก่อการเชื่อมโยงในแผ่นฟิล์มพอลิเมอร์ผสมทำให้แผ่นฟิล์มสามารถคงรูปร่างไว้ได้เมื่อยู่ในสารละลายที่มีค่าพีเอชเป็นกรด ในการศึกษาการปลดปล่อยของยาจากแผ่นฟิล์มของพอลิเมอร์ผสม ตัวอย่างยาที่ใช้ได้แก่ ทีโอไฟลิน กรดซาลิไซลิก ไดโคลฟีแนคโซเดียมและอะมอกซีซิลิน พบว่า ปริมาณยาที่ปลดปล่อยออกจากแผ่นฟิล์มพอลิเมอร์ผสมมีปริมาณสูงสุดเมื่อมีปริมาณไคโตซานเป็นองค์ประกอบในฟิล์มอยู่ 80% เมื่อเปรียบเทียบปริมาณยาแต่ละชนิดที่ปลดปล่อยออกจากฟิล์มพอลิเมอร์ผสมที่มีปริมาณไคโตซานเป็นองค์ประกอบ 80% พบว่า ปริมาณของซาลิไซลิกที่ปลดปล่อยออกจากแผ่นฟิล์มมีมากกว่าทีโอไฟลีน ไดโคลฟีแนคโซเดียมและอะมอกซีซิลิน ตามลำดับ ปริมาณสูงสุดของกรดซาลิไซลิก ทีโอไฟลิน ไดโคลฟีแนคโซเดียม และอะมอกซิซิลินที่ถูกปลดปล่อยออกจากฟิล์มที่มีปริมาณไคโตซานอยู่ 80% ที่พีเอช 2 คิดเป็นอัตรา 92.7% 81.1% 76.6% และ 37.2% ตามลำดับ นอกจากนี้ได้ศึกษาการปลดปล่อยยาออกมาจากแผ่นฟิล์มโดยใช้ Modified Franz Diffusion cell และใช้หนังหมูแทนผิวหนังของคนในการศึกษาการซึมผ่านของยา
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/13258
Type: Technical Report
Appears in Collections:Petro - Research Reports

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Ratana_Hydrogel.pdf13.83 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.