Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/13510
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorSasarux Petcherdchoo-
dc.contributor.authorPattarapong Purnngam-
dc.contributor.otherChulalongkorn University. Faculty of Arts-
dc.coverage.spatialThailand-
dc.coverage.spatialChina-
dc.date.accessioned2010-09-20T07:17:14Z-
dc.date.available2010-09-20T07:17:14Z-
dc.date.issued2007-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/13510-
dc.descriptionThesis (M.A.)--Chulalongkorn University, 2007en
dc.description.abstractAbstract in Chinese languageen
dc.description.abstractalternativeการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเปรียบเทียบสำนวนจีนและสำนวนไทยที่สะท้อนภาพสตรี รวมถึงศึกษาภาพสะท้อนวัฒนธรรมประเพณีของประเทศจีนและไทยที่ปรากฏอยู่ในสำนวนที่เกี่ยวกับสตรี จากการเก็บข้อมูลสำนวนในภาษาจีนจากหนังสือพจนานุกรมสำนวนจีน จำนวน 34 เล่ม และเก็บข้อมูลสำนวนไทยจากหนังสือที่รวบรวมสำนวนภาษาไทยจำนวน 31 เล่ม และนำข้อมูลมาจัดกลุ่มวิเคราะห์ 6 กลุ่ม ได้แก่ รูปลักษณ์ภายนอกของสตรี อุปนิสัยใจคอ ความสัมพันธ์ในครอบครัว ความสัมพันธ์ระหว่างเพศชาย-หญิง วิถีชีวิตความเป็นอยู่ และแนวคิดค่านิยมเกี่ยวกับสตรี โดยพิจารณา 3 ด้าน คือ ด้านบวก ด้านลบ และด้านที่เป็นกลาง โดยพิจารณาความหมายของสำนวนจีนและไทยเป็นเกณฑ์ เนื่องจากความแตกต่างทางลักษณะการดำเนินชีวิตความเป็นอยู่ สภาพแวดล้อม ภูมิประเทศ และพัฒนาการทางวัฒนธรรมของประเทศจีนและไทย ทำให้แนวคิดค่านิยมที่เกี่ยวกับสตรีของคนจีนและคนไทยมีความแตกต่างกัน ผลจากการวิเคราะห์พบว่า สำนวนจีนที่พบมากจะเป็นกลุ่มรูปลักษณ์ภายนอกของสตรี คือร้อยละ 25.44 แต่สำนวนไทยที่พบมากกลับเป็นสำนวนในกลุ่มแนวคิดค่านิยมเกี่ยวกับสตรี คือร้อยละ 29.16 นอกจากนี้ยังพบว่าสำนวนในภาษาจีนที่เกี่ยวกับสตรีมีความหมายด้านบวกมากกว่าด้านลบ คือร้อยละ 64.69 ขณะที่ความหมายของสำนวนในภาษาไทยปรากฏความหมายด้านลบมากกว่าด้านบวก คือร้อยละ 56.25 ผลจากการวิจัยพบว่า ถึงแม้สำนวนที่เกี่ยวกับสตรีระหว่างประเทศจีนและไทยจะมีความแตกต่างกัน แต่ต่างก็ให้ความสำคัญกับสตรีในด้านต่างๆ เหมือนกัน อาทิเช่น ด้านบุคลิกลักษณะ กริยามารยาท ความประพฤติตน การรักนวลสงวนตัว เป็นต้นen
dc.format.extent1242975 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isozhes
dc.publisherChulalongkorn Universityen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2007.2058-
dc.rightsChulalongkorn Universityen
dc.subjectChinese language -- Idiomsen
dc.subjectChinese language -- Idiomsen
dc.subjectWomen -- Chinaen
dc.subjectWomen -- Thailanden
dc.titleA comparative study of Chinese and Thai idiomatic expressions as reflecting images of womenen
dc.title.alternativeการศึกษาเปรียบเทียบสำนวนจีนและไทยที่สะท้อนภาพสตรีen
dc.typeThesises
dc.degree.nameMaster of Artses
dc.degree.levelMaster's Degreees
dc.degree.disciplineChinese as a Foreign Languagees
dc.degree.grantorChulalongkorn Universityen
dc.email.advisorSasarux.P@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2007.2058-
Appears in Collections:Arts - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
pattarapong_pu.pdf1.21 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.