Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/13899
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอัมพล สูอำพัน-
dc.contributor.advisorณัทธร พิทยรัตน์เสถียร-
dc.contributor.authorเทพสิรินทร์ มากบุญศรี-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะแพทยศาสตร์-
dc.date.accessioned2010-11-12T09:16:21Z-
dc.date.available2010-11-12T09:16:21Z-
dc.date.issued2549-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/13899-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549en
dc.description.abstractศึกษาประสิทธิภาพโปรแกรมการอบรมผู้ปกครองเด็กสมาธิสั้น โดยการเปรียบเทียบผลที่เกิดขึ้นและเปรียบเทียบกับกลุ่มควบคุมที่ไม่ได้รับการเข้าอบรม โดยเลือกกลุ่มทดลองและควบคุมตามคุณสมบัติที่กำหนดไว้ จำนวน 40 คน แบ่งกลุ่มตัวอย่างออกเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่กลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มละ 20 คน กลุ่มทดลองจะได้รับการเข้าร่วมการอบรม สัปดาห์ละ 1 ครั้ง ครั้งละ 2 ชั่วโมง รวมทั้งหมด 8 สัปดาห์ เครื่องมือที่ใช้ในการทดลองคือ แบบสอบถามข้อมูลบุคคล แบบประเมินอาการความรุนแรงของโรคสมาธิสั้น แบบประเมินปัญหาพฤติกรรมในบ้านแต่ละเหตุการณ์ แบบประเมินความเครียดจากการดูแลบุตร และแบบวัดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคสมาธิสั้น วิเคราะห์ข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์โปรแกรม SPSS ผลการวิจัยพบว่าหลังการทดลอง กลุ่มทดลองสามารถลดอาการความเครียดที่เกิดขึ้นได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.001 จากผลการวิจัยสรุปว่า โปรแกรมการอบรมผู้ปกครองเด็กสมาธิสั้น สามารถนำไปใช้เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กสมาธิสั้นได้มีความเข้าใจในโรคสมาธิสั้น และสามารถลดระดับความเครียดที่เกิดขึ้นen
dc.description.abstractalternativeTo compare the effective of the parent training program. The objects of this study were the parent of ADHD. The 40 parents were devided into the experimental group and the control group, each with 20 subjects. The experimental group received the parent training program 1 time per week, 2 hours per session for 8 weeks. The collection data instruments consisted of demographic data about the parents, SNAP IV (short form), home situation questionnaire, PSI, the knowledge test and the pressure test. The data were analyzed by SPSS program. The finding of this study reviewed that, after the experimental : the post-test of PSI score for experimental group was significantly. In conclusion, the parent training program could be used for promoting train in the parent of ADHD.en
dc.format.extent1626619 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2006.1219-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectโรคสมาธิสั้นen
dc.subjectความเครียด (จิตวิทยา)en
dc.titleประสิทธิภาพของโปรแกรมการอบรมผู้ปกครองเด็กสมาธิสั้นen
dc.title.alternativeEfficacy of parent management training program for ADHDen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineสุขภาพจิตes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorUmpon.S@Chula.ac.th-
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2006.1219-
Appears in Collections:Med - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
thepsirin.pdf1.59 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.