Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/14055
Title: การนำระบบไซโคลนมาใช้เพื่อดักวัตถุดิบนำกลับมาใช้ใหม่ และลดปัญหาการอุดตันในระบบท่อ สำหรับการเทวัตถุดิบในสภาวะสุญญากาศ
Other Titles: Cyclone system to recover raw material and reduce pipe clogging for manual raw material unloading in vacuum condition
Authors: พิบูรณ์ จริยาธนาพล
Advisors: อุรา ปานเจริญ
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์
Advisor's Email: Ura.P@Chula.ac.th
Subjects: การแยก (เทคโนโลยี)
เครื่องแยก
การกระจายของขนาดอนุภาค
Issue Date: 2548
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: การขนถ่ายวัตถุดิบของแข็งชนิดผงจะทำให้เกิดการฟุ้งกระจายของฝุ่นวัตถุดิบได้ การป้องกันคือการติดลมดูดฝุ่น ซึ่งหน่วยหรืออุปกรณ์ที่ใช้สำหรับการแยกฝุ่นนั้นมีมาก แต่ที่มีราคาถูกและง่ายต่อการบำรุงรักษาคือ ไซโคลน ไซโคลนจึงถูกนำมาทดลองใช้เพื่อแยกฝุ่นที่เกิดจากขนถ่ายวัตถุดิบในการทดลองครั้งนี้ เพื่อดูประสิทธิภาพในการดักฝุ่น ความสามารถในการลดปัญหาเรื่องฝุ่นและปริมาณฝุ่นวัตถุดิบที่นำกลับมาใช้ใหม่ได้มากน้อยเท่าใด ในการทดลองนี้ยังเพิ่มปัจจัยใหม่คือ การหมุนของตัวไซโคลน โดยหมุนสวนทางกับการหมุนของของไหลในตัวไซโคลน และเปรียบเทียบประสิทธิภาพระหว่างตัวไซโคลนที่อยู่นิ่ง กับตัวไซโคลนที่หมุนสวนทางกับการไหลของของไหล ซึ่งผลสรุปได้คือ ประสิทธิภาพลดลงเล็กน้อย แต่ความสะอาดภายในตัวไซโคลนดีขึ้น ประสิทธิภาพที่ลดลงเนื่องจาก ถ้ามีการหมุนของตัวไซโคลน จะทำให้ขอบเขตการไหลแบบลามินาร์ภายในตัวไซโคลนนั้นถูกทำลาย และมีการข้ามขั้นเกลียวของไซโคลน ซึ่งทำให้การแยกอนุภาคออกจากของไหลไม่ดี เมื่อเทียบกับการไหลเป็นลามินาร์ที่แบ่งแยกขอบเขตชั้นเกลี่ยวที่คงที่
Other Abstract: Solid raw material transportation will generate dust of raw material, the prevention of this event is suction to vacuum and separate dust that there are many separation unit to separate solid from fluid but the low cost & maintenance is only cyclone. Cyclone is used to separate raw material dust that occurred from unloading, in this experiment. Efficiency is factor to measured and compared in term of cyclone capability to reduce dust and recover raw material. In this experiment new factor is cyclone body counter flow that counter with fluid flow in cyclone. Result compare between normal or fixed cyclone body with counter flow of cyclone body that the new is lower efficient than the normal but cleaning in body cyclone is cleaner than the normal. Efficiency reduction due to cyclone body rotation that overlap boundary layer of laminar flow in cyclone and shift of vortex. This affect to solid-fluid separation when compare with consist laminar flow boundary and vortex or fix cyclone body
Description: วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548
Degree Name: วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level: ปริญญาโท
Degree Discipline: วิศวกรรมเคมี
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/14055
ISBN: 9741761015
Type: Thesis
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Piboon_Ja.pdf4.81 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.