Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/14226
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวีระพงษ์ บุญโญภาส-
dc.contributor.authorปุณยวีร์ พรพิพัฒนมงคล-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิติศาสตร์-
dc.date.accessioned2010-12-20T08:42:47Z-
dc.date.available2010-12-20T08:42:47Z-
dc.date.issued2551-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/14226-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์(น.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551en
dc.description.abstractศึกษาถึงกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการเรียกคืนทรัพย์สินที่ได้มาจาก การกระทำความผิดคอร์รัปชั่นตามที่ประเทศไทยได้ลงนามในอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วย การต่อต้านการทุจริต ค.ศ. 2003 ซึ่งกำหนดบทบัญญัติ หลักเกณฑ์ และมาตรการต่างๆ ในการปราบปรามคอร์รัปชั่น โดยกำหนดถึงวิธีการในการเรียกคืนทรัพย์สินโดยตรง ซึ่งจะศึกษา เปรียบเทียบกับหลักกฎหมายประเทศสหรัฐอเมริกา และประเทศสหราชอาณาจักรในเรื่อง การเรียกคืนหรือริบทรัพย์สิน ทั้งนี้เพื่อประเมินว่ากฎหมายไทยที่มีอยู่ในปัจจุบันในเรื่องดังกล่าวมีความสอดคล้องกับข้อบทในอนุสัญญานี้หรือไม่ เพื่อวัตถุประสงค์ในการพิจารณาว่าจะต้อง ดำเนินการอย่างไรในการแก้ไข หรือปรับปรุงกฎหมายเพื่อเข้าเป็นภาคีของอนุสัญญาดังกล่าวนี้ จากการศึกษาพบว่าประเทศไทยยังไม่มีบทบัญญัติที่กำหนดถึงหลักเกณฑ์ที่เกี่ยวข้องกับ การเรียกคืนทรัพย์สินที่ได้มาจากการกระทำความผิดโดยตรงอย่างชัดเจน ซึ่งตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 33 ก็มิได้กำหนดให้การริบทรัพย์สินที่ได้มาจากการกระทำความผิด ขยายความรวมไปถึงทรัพย์สินที่เปลี่ยนสภาพไปแล้วด้วย นอกจากนี้ความไม่สอดคล้องของกฎหมายไทยในเรื่องมาตรการดำเนินการกับทรัพย์สินนั้นมีอยู่ในส่วนที่เกี่ยวกับทรัพย์สินใดที่สามารถถูกยึด อายัด หรือริบได้ โดยขอบเขตของทรัพย์สินที่สามารถยึด อายัด หรือริบได้ตามกฎหมายไทยนั้นแคบกว่าบทบัญญัติของอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการต่อต้านการทุจริต ค.ศ. 2003 ผลที่ได้จากการศึกษา คือ ประเทศไทยควรมีบทบัญญัติทางกฎหมายอันเกี่ยวกับ การเรียกคืนทรัพย์สินที่ได้มาจากการกระทำความผิดที่ชัดเจนแน่นอน โดยเทียบกับแนวทาง การบัญญัติกฎหมาย และการดำเนินการของต่างประเทศ ทั้งนี้ เพื่อให้ประเทศไทยสามารถ ให้สัตยาบันเข้าเป็นภาคีในอนุสัญญาฉบับนี้ อันจะเป็นประโยชน์ต่อประเทศไทยในการ ปราบปรามการคอร์รัปชั่น ทั้งในระดับประเทศและระหว่างประเทศen
dc.description.abstractalternativeTo study on Law of Asset Recovery getting from corruption. According to Thailand countersign on the United Nations Convention against Corruption 2003 which provide the provisions, the principles, and the measures to counteract the corruption by providing the procedure to recover asset directly, that comparing study with the principles of Law of United States of America and United Kingdom concerning with recovery or forfeiture of asset in order to estimate whether the current domestic laws of Thailand regarding to the aforesaid consistent with the provisions of the Convention, for the purpose of consideration how it necessary to amend or adjust Thai law for becoming a State Member of such Convention. The research findings revealed that Thailand has not been the provision involving of recovery of asset, getting from commits the offence, directly. Criminal Code of Thailand section 33 has not been imposing to confiscate the property which have been transformed or converted into other property. Furthermore, inconsistence of Thai law as to measure conducting with the scope of property that can freeze, seize and confiscate is narrow than the provision of the United Nations Convention against Corruption 2003. The result of the research is that Thailand should have the provision regarding to recovery of asset, getting from commits the offence, clearly, by comparing with procedure and proceed of provided the foreign law so that Thailand could ratify to become a State Member of the Convention which benefit to Thailand for anti corruption both in national and international.en
dc.format.extent1853949 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2008.636-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการริบทรัพย์en
dc.subjectการทุจริตและประพฤติมิชอบen
dc.subjectอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการต่อต้านการทุจริต ค.ศ. 2003en
dc.titleประเทศไทยกับการอนุวัติการตามอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการต่อต้านการทุจริต ค.ศ. 2003 : ศึกษากรณีการเรียกคืนทรัพย์สินที่ได้มาจากการกระทำความผิดen
dc.title.alternativeThailand and the implementation of the United Nations Convention against Corruption 2003 : a case study of asset recoveryen
dc.typeThesises
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineนิติศาสตร์es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorViraphong.B@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2008.636-
Appears in Collections:Law - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Punyavee_po.pdf1.81 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.