Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/15184
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Wanna Saengaramruang | - |
dc.contributor.author | Thanarat Benjawatananun | - |
dc.contributor.other | Chulalongkorn University. Faculty of Arts | - |
dc.date.accessioned | 2011-05-15T07:33:50Z | - |
dc.date.available | 2011-05-15T07:33:50Z | - |
dc.date.issued | 2006 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/15184 | - |
dc.description | Thesis (M.A.)--Chulalongkorn University, 2006 | en |
dc.description.abstract | Diese Arbeit beschaftigt sich mit der syntaktischen Funktion der es-Konstruktion im Deutschen und deren Ubertragung ins Thailandische. Es wird dargestellt, dass die es-Konstruktion nicht nur als Personalpronomen 3. Person Singular fungieren kann. Die Ubertragung allen syntaktischen Funktionen von dieser Konstruktionen mit dem thailandischen Personalpromen 3. Person ist deshalb nicht in der Lage, diese Konstruktion ins Thailandische adaquat ubertragen zu konnen. Der Korpus der untersuchten es-Konstruktionen stammt aus den thailandischen Ubersetzungsarbeiten der vier deutschen literarischen Werke. Sie sind "Siddhartha" von Hermann Hesse, ubersetzt von "Simon", "Die Leiden des jungen Werthers" von Johann Wolfgang Goethe, ubersetzt von Thanomnuan O'Chareon, "Wenn das Gluck kommt, muss man ihm einen Stuhl hinstellen" von Mirjam Pressler, ubersetzt von Ampha Otrakul und "Oma" von Peter Hartling, ubersetzt von Chalit Durongpan. Die samtlichen es-Konstruktionen in diesen Ubersetzungsarbeiten werden nach ihren syntaktischen Funktionen in 4 Gruppen geteilt. Es wird weiterhin systematisch untersucht, welche Ubersetzungsmethoden verwendet werden, um die Bedeutung der jeweiligen es-Konstruktionen ins Thilandische sinngemaB wie im deutschen Originaltext zu ubertragen. Nach der Untersuchung wird festgestellt, dass die Ubersetzer verschiedene Methoden verwendet haben, um diese Konstruktion in die Zielsprache wiederzugeben. Nicht alle es-Konstruktionen lassen sich mit dem Personalpronomen "มัน" ins Thailandische ubertragen. | en |
dc.description.abstractalternative | วิทยานิพนธ์ฉบับนี้มีวัตถุประสงค์ที่จะศึกษาหน้าที่ทางไวยากรณ์ของโครงสร้าง es ในภาษาเยอรมันและการถ่ายความเป็นภาษาไทยในงานวรรณกรรมแปลจากภาษาเยอรมัน 4 เรื่องเพื่อแสดงให้เห็นว่าโครงสร้างดังกล่าวมิได้จำกัดอยู่เพียงสรรพนามบุรุษที่ 3 เอกพจน์เท่านั้น หากแต่ยังมีหน้าที่อีก 3 หน้าที่ด้วยกันซึ่งส่วนใหญ่แล้วไม่สามารถเทียบเคียงกับหน่วยใดในภาษาไทยได้เลย เช่นนี้แล้วการถ่ายทอดความหมายของโครงสร้าง es ในทุกหน้าที่ทางไวยากรณ์ด้วยสรรพนามบุรุษที่ 3 ในภาษาไทย "มัน" จึงไม่อาจถือได้ว่าเป็นการถ่ายความที่ถูกต้องและครบถ้วยตามหน้าที่ทางไวยากรณ์และความหมายในภาษาเยอรมันได้ งานวรรณกรรมแปลที่นำมาวิเคราะห์ในวิทยานิพนธ์ฉบับนี้ได้แก่วรรณกรรมเรื่อง "Siddhartha" ของแฮร์มัน์ เฮสเซอร์ (Hermann Hesse) แปลโดย "สีมน" "Die Leiden des jungen Werthers" ของโย ฮันน์ โวล์ฟกัง ฟอน เกอเธ่ (Johann Wolfgang Goethe) แปลโดย ถนอมนวล โอเจริญ “Wenn das Gluck kommt, muss man ihm einen Stuhl hinstellen” ของ มีเรียม เพรสเลอร์ (Mirjam Pressler) แปลโดย อำภา โอตระกูล และ "Oma" ของ เพเทอร์ แฮร์ทลิ่ง (Peter Hartling) แปลโดย ชลิต ดุรงค์พันธ์ โครงสร้าง es ทั้งหมดที่ปรากฎในงานวรรณกรรมดังกล่าวจะนำมาจัดประเภทเป็น 4 กลุ่มตามหน้าที่ทางไวยากรณ์เพื่อศึกษาอย่างเป็นระบบว่าแต่ละหน้าที่ทางไวยากรณ์นั้นผู้แปลใช้กลวิธีใดบ้างเพื่อถ่ายทอดโครงสร้าง es ในภาษาเยอรมันเป็นภาษาไทยให้ครบถ้วยและกินความได้ตรงตามต้นฉบับภาษาเยอรมันมากที่สุด จากการวิเคราะห์กลวิธีการแปลวรรณกรรมทั้ง 4 เรื่องข้างต้นพบว่า ผู้แปลใช้กลวิธีหลากหลายในการถ่ายความโครงสร้าง es บางตัวสามารถถ่ายทอดออกมาด้วยกลวิธีมากมายขึ้นอยู่กับความเหมาะสมทางบริบท ที่น่าสนใจก็คือผู้วิจัยได้พบว่าครึ่งหนึ่งของหน้าที่ทางไวยากรณ์ของโครงสร้าง es มิได้ถ่ายความเป็นภาษาไทยด้วย "มัน" ส่วนในบางหน้าที่ที่ผู้แปลใช้ “มัน” เป็นกลวิธีในการถ่ายความก็มีจำนวนที่น้อยมาก. | en |
dc.format.extent | 10970752 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | en | es |
dc.publisher | Chulalongkorn University | en |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.2006.1957 | - |
dc.rights | Chulalongkorn University | en |
dc.subject | German language -- Grammar | en |
dc.subject | German language -- Pronoun | en |
dc.subject | German literature -- Translation | en |
dc.title | Die ES-konstruktionen IM deutschen : IHRE funktion UND IHRE ubertragung INS thailandische | en |
dc.title.alternative | หน่วยสร้าง es ในภาษาเยอรมัน : หน้าที่และการถ่ายความเป็นภาษาไทย | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | Master of Arts | es |
dc.degree.level | Master's Degree | es |
dc.degree.discipline | German | es |
dc.degree.grantor | Chulalongkorn University | en |
dc.email.advisor | WANNA.S@chula.ac.th | - |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.2006.1957 | - |
Appears in Collections: | Arts - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
thanarat.pdf | 10.71 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.