Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/15247
Title: | Effect of addition of aloe vera gel on synthesis of bacterial cellulose film by Acetobacter xylinum |
Other Titles: | ผลกระทบของการเติมเจลว่านหางจระเข้ต่อกระบวนการสังเคราะห์ แผ่นฟิล์มแบคทีเรียเซลลูโลสโดย Acetobacter Xylinum |
Authors: | Ong-ard Saibuatong |
Advisors: | Muenduen Phisalaphong |
Other author: | Chulalongkorn University. Faculty of Engineering |
Advisor's Email: | muenduen.p@chula.ac.th |
Subjects: | Acetobacter xylinum Aloe vera |
Issue Date: | 2007 |
Publisher: | Chulalongkorn University |
Abstract: | In this thesis, the effects of addition of aloe vera gel on synthesis of bacterial cellulose film by Acetobacter Xylinum was studied due to the unique properties of both aloe vera gel and bacterial cellulose (BC), which might improve the physical and biological properties of the developed film. The mechanical property, equilibrium water content, porous structure, crystallinity index, and the growth of human skin cells on the biosynthesized film with the supplement of aloe vera gel at 0-50 percent-range (v/v) in the culture medium were investigated. From the study, the 30 percent addition of the BC-aloe vera gel showed the best combination for the film formation. The BC-aloe vera film was found to be more strengthen than the BC film. In addition, the interaction between BC fibrils and aloe vera gel could be illustrated from FTIR analysis. Furthermore, both of the mechanical properties and equilibrium water content of the BC-aloe vera film were found to be higher than those of the BC film. The average pore sizes of the BC-aloe vera were smaller than those of the BC film, but the surface area did not much increase from the latter. The crystallinity index of the BC-aloe vera film content at 30 percent was improved to 82.77. Additionally, the BC-aloe vera film had no toxicity and supported the growth and proliferation of human skin cells. |
Other Abstract: | จากคุณสมบัติเฉพาะตัวทางชีววิทยาของว่านหางจระเข้และแบคทีเรียเซลลูโลส งานวิจัยนี้ จึงได้ทำการศึกษาผลกระทบของการเติมเจลว่านหางจระเข้ต่อกระบวนการสังเคราะห์แผ่นฟิล์มแบคทีเรียเซลลูโลส โดย Acetobacter Xylinum โดยเจลว่านหางจระเข้ได้ถูกผสมลงในอาหารเลี้ยงเชื้อของแบคทีเรียเซลลูโลส เพื่อปรับปรุงคุณสมบัติทางกายภาพและทางชีวภาพของแผ่นฟิล์มที่สร้างขึ้น ซึ่งเจลว่านหางจระเข้ที่ทำการศึกษานั้นอยู่ในช่วง 0-50 เปอร์เซ็นต์ปริมาตรของว่านหางจระเข้ต่อปริมาตรในอาหารเลี้ยงเชื้อ โดยแผ่นฟิล์มแบคทีเรียเซลลูโลส-ว่านหางจระเข้ที่สังเคราะห์ขึ้น จะถูกนำไปศึกษาถึงคุณสมบัติทางกล การบวมน้ำ โครงสร้างที่เป็นรูพรุน ดัชนีความเป็นผลึก และการเจริญเติบโตของเซลล์ผิวหนังคนบนแผ่นฟิล์มชีวภาพสังเคราะห์ จากการศึกษาพบว่าที่ 30 เปอร์เซ็นต์ปริมาตรของว่านหางจระเข้ต่อปริมาตรในอาหารเลี้ยงเชื้อให้คุณสมบัติเชิงกลที่ดีที่สุด โดยตัวชิ้นงานที่สังเคราะห์นั้น มีความเหนียวและแน่นขึ้น หลังจากที่เติมว่านหางจระเข้ลงไป นอกจากนี้ การเกิดปฏิสัมพันธ์ระหว่างโมเลกุลเซลลูโลสของแบคทีเรียเซลลูโลส กับเจลว่านหางจระเข้ สามารถอธิบายได้จากผลการทดสอบด้วยอินฟราเรดทางโครงสร้างโมเลกุล นอกจากนี้ยังพบว่า คุณสมบัติทางกลและความสามารถของการบวมน้ำของแผ่นฟิล์มแบคทีเรียเซลลูโลส-ว่านหางจระเข้มีค่าสูงกว่าแผ่นฟิล์มแบคทีเรียเซลลูโลส และลักษณะรูพรุนของแผ่นฟิล์มแบคทีเรียเซลลูโลส-ว่านหางจระเข้มีขนาดเล็กกว่าแผ่นฟิล์มเซลลูโลส ในขณะที่พื้นที่ผิวนั้นเพิ่มขึ้นไม่มากนัก และจากศึกษาค่าดัชนีความเป็นผลึกของแผ่นฟิล์มแบคทีเรียเซลลูโลส-ว่านหางจระเข้ที่ ความเข้มข้น 30 เปอร์เซ็นต์ มีค่าเท่ากับ 82.77 และนอกจากนี้ จากการศึกษายังพบว่าแผ่นฟิล์มแบคทีเรียเซลลูโลส-ว่านหางจระเข้ที่สังเคราะห์ได้นั้นไม่เป็นพิษ และส่งเสริมการเจริญเติบโตของเซลล์ผิวหนังมนุษย์ |
Description: | Thesis (M.Eng.)--Chulalongkorn University, 2007 |
Degree Name: | Master of Engineering |
Degree Level: | Master's Degree |
Degree Discipline: | Chemical Engineering |
URI: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/15247 |
URI: | http://doi.org/10.14457/CU.the.2007.2113 |
metadata.dc.identifier.DOI: | 10.14457/CU.the.2007.2113 |
Type: | Thesis |
Appears in Collections: | Eng - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Ong-ard_Sa.pdf | 4.07 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.