Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/15454
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สุพล ดุรงค์วัฒนา | - |
dc.contributor.author | พุทธธิดา ภู่ตระกูล | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี | - |
dc.date.accessioned | 2011-07-10T05:32:34Z | - |
dc.date.available | 2011-07-10T05:32:34Z | - |
dc.date.issued | 2552 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/15454 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (สต.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552 | en |
dc.description.abstract | ศึกษาการแก้ปัญหาความไม่เป็นเอกภาพของความแปรปรวนสำหรับแผนแบบการทดลองสุ่มตลอด ในการวิจัยครั้งนี้ได้สร้างข้อมูลตามขอบเขตการวิจัยด้วยโปรแกรม S–PLUS 2000 โดยกำหนดให้จำนวนวิธีทดลองเท่ากับ 3, 5 และ 7 จำนวนซ้ำในการทดลองเท่ากับ 3, 4, 5 และ 6 ให้อัตราส่วนของความแปรปรวนมีความแตกต่างกัน 3 ระดับ ได้แก่ น้อย ปานกลาง และมาก สำหรับเกณฑ์ที่ใช้ในการเปรียบเทียบวิธีการแปลงข้อมูลที่เหมาะสมในการแก้ปัญหาดังกล่าวข้างต้นคือ ค่าสัดส่วนความสำเร็จสูงสุดในการแก้ไขปัญหาความไม่เป็นเอกภาพของความแปรปรวนและข้อมูลหลังการแปลงมีการแจกแจงแบบปกติ ค่าสัดส่วนของการปฏิเสธสมมติฐานว่างและอำนาจการทดสอบของการทดสอบเอฟที่ระดับนัยสำคัญ 0.01 และ 0.05 ผลการศึกษาสรุปได้ดังนี้ การแปลงข้อมูลด้วยค่าพารามิเตอร์ยกกำลัง (lambda) ที่เหมาะสมในการแก้ปัญหาความไม่เป็นเอกภาพของความแปรปรวนและข้อมูลยังคงมีการมีการแจกแจงปกติ กรณีความแตกต่างของความแปรปรวนมีความแตกต่างกันน้อย จำนวนวิธีทดลองเท่ากับ 3 คือ -2.0 และ -1.5 จำนวนวิธีทดลองเท่ากับ 5 คือ -0.5 และจำนวนวิธีทดลองเท่ากับ 7 คือ -1.5 และ -1.0 กรณีความแตกต่างของความแปรปรวนมีความแตกต่างกันปานกลาง จำนวนวิธีทดลองเท่ากับ 3 คือ -1.5 และ -1.0 จำนวนวิธีทดลองเท่ากับ 5 คือ -0.5 และ 0.0 และจำนวนวิธีทดลองเท่ากับ 7 คือ -0.5 กรณีความแตกต่างของความแปรปรวนมีความแตกต่างกันมาก จำนวนวิธีทดลองเท่ากับ 3 คือ -1.5 และ -1.0 จำนวนวิธีทดลองเท่ากับ 5 คือ 0.0 และจำนวนวิธีทดลองเท่ากับ 7 คือ -0.5 และ 0.0 | en |
dc.description.abstractalternative | The objective of this study is correction for heterogeneity of variance in the completely randomized design. The generation of response data is done by S–PLUS 2000 package. The data are generated with 3, 5 and 7 treatments. The data are generated with 3, 4, 5 and 6 number of replication for each treatment. The variance ratio of data for different 3 levels; small, medium and high level. The criterion of determination in this study are the most proportion of success in correction for variances heterogeneity problem, the proportion of data is still normally assumption after transformation, the proportion of null hypothesis rejection and the power of the test. These criterions are measure for comparison about transformed method. The result of this study can be summarized as follow: The fit transformation methods for correcting the heterogeneity of variance are transformed data and the data after transformation is still normally distribution. When the different variance is small; treatment is equal 3 are lambda = -0.2 and lambda = -1.5, treatment is equal 5 are lambda = -0.5, treatment is equal 7 are lambda = -1.5 and lambda = -1.0. When the different variance is medium; treatment is equal 3 are lambda = -1.5 and lambda = -1.0, treatment is equal 5 are lambda = -0.5 and lambda = 0.0, treatment is equal 7 is lambda = -0.5. When the different variance is high; treatment is equal 3 are lambda = -1.5 and lambda = -1.0, treatment is equal 5 is lambda = 0.0, treatment is equal 7 are lambda= -0.5 and lambda= 0.0. | en |
dc.format.extent | 5012109 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.2009.1414 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | การออกแบบการทดลอง | en |
dc.subject | การสุ่มตัวอย่าง (สถิติ) | en |
dc.subject | การวิเคราะห์ความแปรปรวน | en |
dc.subject | เลขยกกำลัง | en |
dc.subject | วิธีมอนติคาร์โล | en |
dc.title | การแปลงข้อมูลด้วยวิธีการแปลงข้อมูลแบบ Box-cox สำหรับแผนแบบการทดลองสุ่มตลอด ที่มีความไม่เป็นเอกภาพของความแปรปรวน | en |
dc.title.alternative | Data transformation by Box-cox for the completely randomized design with heterogeneity of variance | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | สถิติศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | สถิติ | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.email.advisor | fcomsdu@acc.chula.ac.th | - |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.2009.1414 | - |
Appears in Collections: | Acctn - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Puttida_pu.pdf | 4.89 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.