Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/15596
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุวิทย์ ปุณณชัยยะ-
dc.contributor.advisorประเวทย์ แก้วช่วง-
dc.contributor.authorโอภาส อิสสระชัย-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2011-08-03T09:47:03Z-
dc.date.available2011-08-03T09:47:03Z-
dc.date.issued2551-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/15596-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,2551en
dc.description.abstractงานวิจัยนี้เป็นการพัฒนาระบบตรวจสอบเครื่องเทศผ่านการฉายรังสีโดยเทคนิคการกระตุ้นให้เกิดแสงเรืองด้วยแสง เพื่อใช้สำหรับการตรวจคัดแยกเครื่องเทศผ่านการฉายรังสีในขั้นตอนการควบคุมคุณภาพผลิตภัณฑ์อาหารสำเร็จรูป โดยระบบตรวจสอบเครื่องเทศผ่านการ ฉายรังสีที่พัฒนาขึ้นได้ออกแบบบนพื้นฐานวิธีการกระตุ้นให้เกิดแสงเรืองแบบพัลส์ ประกอบด้วยระบบย่อย 4 ส่วนหลัก ได้แก่ ระบบกำเนิดแสงกระตุ้นด้วยชุดไดโอดเปล่งแสงย่านความยาวคลื่นแสง 870 nm ที่ให้ความเข้มแสงสูงสุด 100 mW/cm2, ระบบนับโฟตอนชนิดตอบสนองเวลาช่วงสั้นซึ่งวัดโฟตอนแสงเรืองด้วยหลอดโฟโตมัลติพลายเออร์รุ่น XP2206 พร้อมคัดเลือกสัญญาณพัลส์ด้วยวงจรดิสคริมิเนเตอร์ชนิดตอบสนองเวลาช่วงสั้น, ระบบควบคุมจังหวะพัลส์ในการกระตุ้นแสงเพื่อวัดสัญญาณโฟตอนแสงเรือง และระบบประมวลผลค่านับโฟตอนในการตรวจคัดแยกเพื่อแสดงผลด้วยไมโครคอนโทรลเลอร์ ผลทดสอบการทำงานของระบบที่พัฒนาขึ้นพบว่า ระบบมีความเสถียรที่อุณหภูมิแวดล้อมปกติ มีแบรกกราวด์สัญญาณจากระบบนับโฟตอนในความมืดน้อยกว่า 350 cps ขณะใช้ไบอัส 1100 V และมีความไวในการวัดความเข้มแสงต่ำจากการเรืองแสงของสารอินทรีย์ ในการทดลองคัดเลือกเครื่องเทศผ่านและไม่ผ่านการฉายรังสี โดยใช้เครื่องเทศมาตรฐาน พบว่าการกระตุ้นด้วยพัลส์ความถี่ 30 kHz ความเข้มแสง 60 mW/cm2 และใช้เวลาในการคัดเลือก 60 วินาที มีความเหมาะสมกับระบบที่พัฒนาขึ้น และระบบสามารถตรวจคัดเลือกเครื่องเทศผ่านการฉายรังสี 5 ชนิดที่ปริมาณรังสี 1, 3, 5, 7, และ 10 kGy ได้ผลสอดคล้องกับตรวจคัดเลือกด้วยระบบตรวจสอบอ้างอิงสมรรถนะสูงอย่างมีนัยสำคัญen
dc.description.abstractalternativeThis research aims to develop an irradiated spices screening system using photostimulated luminescence technique, in order to screen irradiated spices during instant food production quality control process. The developed system was based on a pulse photostimulated luminescence (PPSL) method, which comprised of 4 subsystems: the stimulation light source subsystem composing of light emitting diode with wavelength of 870 nm and 100 mW/cm2 maximum illumination, the fast photon counting subsystem employing a XP2206 photomultiplier tube for luminescence detection with fast discriminator, the signal pulse controlling subsystem for photosimulating/luminescent signal counting and the microcontroller-based counting data evaluation and screening detection display subsystem. Test results showed that the system was stable under ambient temperature, that the dark signal background was less than 350 cps at 1100 V bias and that the system was sensitive to low-intensity luminescent from organic substances. For the screening test of irradiated and non irradiated spices using standard irradiated spice, the suitable conditions were found at 30 kHz stimulation pulse rate, 60 mW/cm2 illumination and 60 seconds counting time. It was also found that the 5 species of irradiated spices at dose level of 1, 3, 5, 7, and 10 kGy could be screened by the developed system, significantly corresponding to those screened by the high-performance reference system.en
dc.format.extent5266276 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2008.236-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectอาหารสำเร็จรูปen
dc.subjectเครื่องเทศ -- การฉายรังสีen
dc.subjectการฉายรังสีen
dc.titleการพัฒนาระบบตรวจสอบเครื่องเทศผ่านการฉายรังสีโดยเทคนิคการกระตุ้นให้เกิดแสงเรืองด้วยแสงen
dc.title.alternativeDevelopment of an irradiated spices screening system using photostimulated luminescence techniqueen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineนิวเคลียร์เทคโนโลยีes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorSuvit.P@Chula.ac.th-
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2008.236-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Opas_is.pdf5.14 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.