Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/1592
Title: Efficiency of nitrogen compound treatment using airlift bioreactor for shrimp culture tank
Other Titles: ประสิทธิภาพของการบำบัดสารประกอบไนโตรเจนด้วยถังปฏิกรณ์ชีวภาพแบบอากาศยกสำหรับถังเลี้ยงกุ้ง
Authors: Naruephu Juprajak
Advisors: Prasert Pavasant
Other author: Chulalongkorn University. Faculty of Engineering
Advisor's Email: prasert.p@chula.ac.th
Subjects: Sewage--Purification--Nitrogen removal
Shirmp culture
Water quality
Airlift bioreactor
Issue Date: 2004
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: Packed bed external loop airlift bioreactor (PBABR) was proven to have capacity in treating wastewater containing nitrogen compounds such as ammonia and nitrate. The 60L PBABR comprised aerobic and anaerobic zones for the nitrification and denitrification, respectively. The plastic bioball packing was packed in both aeration and non-aeration zones to allow the attachment of the targeted microorganisms. Three sets of experiment were carried out. The first experiment was performed with synthetic wastewater without the actual shrimp culture, and the system was illustrated to be able to control the level of ammonia and nitrate. The nitrification and denitrification rates in this experiment were 0.563-3.971 and 2.290-18.931 mgN/L/d, respectively. The second experiment was performed with a small number of actual shrimp culture. The treatment system was proven to have a slightly better performance than the control pond without the PBABR. Nitrogen compounds could be controlled satisfactorily without the addition of methanol. Experiment III was conducted with a larger number of shrimp and the treatment pond was found to be superior to the control pond in terms of the survival rate and the final shrimp weight
Other Abstract: ถังปฏิกรณ์ทางชีวภาพแบบอากาศยกแบบเบดนิ่งที่มีการไหลวนแบบภายนอกมีความเหมาะสม ต่อการบำบัดน้ำเสียจากบ่อเลี้ยงกุ้งซึ่งมีปริมาณสารพิษแอมโมเนียและไนเตรทอยู่ โดยถังปฏิกรณ์จะประกอบด้วยส่วนที่มีสภาวะมีอากาศ และส่วนที่มีสภาวะไร้อากาศ ทั้งสองส่วนบรรจุด้วยวัสดุตรึงแบคทีเรียชนิดพลาสติกไบโอบอล และสามารถรองรับปริมาณน้ำเสียได้ 60 ลิตร ในการทดลองได้แยกออกเป็นสามการทดลอง โดยการทดลองที่หนึ่งจะศึกษาการบำบัดน้ำเสียสังเคราะห์โดยในระบบยังไม่มีกุ้ง จากการทดลองพบการบำบัดสารประกอบไนโตรเจนได้ โดยเกิดปฏิกิริยา ไนตริฟิเคชั่นและดีไนตริฟิเคชั่นพร้อมกัน และสามารถควบคุมปริมาณแอมโมเนีย และไนเตรทในบ่อให้อยู่ในปริมาณต่ำได้อัตราการเกิดไนตริฟิเคชั่นอยู่ในช่วง 0.563-3.971 มิลลิกรัมแอมโมเนีย-ไนโตรเจน/ลิตร-วัน และอัตราเกิดดีไนตริฟิเคชั่น 2.290-18.913 มิลลิกรัมไนเตรท-ไนโตรเจน/ลิตร-วัน ในการทดลองที่สองในการเลี้ยงกุ้งทดลองในปริมาณน้อย พบว่าในบ่อที่ได้รับการบำบัดน้ำเมื่อเทียบกับระบบที่ไม่มีการบำบัดจะมีอัตราการรอดชีวิตและการเจริญเติบโตของกุ้งที่สูงกว่าเล็กน้อย และสามารถควบคุมสารประกอบไนโตรเจนได้ในปริมานที่ไม่เป็นอันตรายโดยไม่มีการเติมเมททานอล ในการทดลองที่สามนั้นได้เพิ่มปริมาณกุ้ง ก็พบว่าในระบบบำบัดนั้นมีอตราการรอดชีวิตของกุ้งและขนาดกุ้งมากกว่า สภาวะที่ใช้สำหรับระบบการบำบัดน้ำเสียในบ่อเลี้ยงกุ้งนี้คือ ค่าออกซิเจนในน้ำของส่วนสภาวะมีอากาศเป็น 3-5 มิลลิกรัมต่อลิตร และในส่วนสภาวะไม่ให้อากาศเป็น 0-2 มิลลิกรัมต่อลิตร สภาพด่างมากกว่า 100 มิลลิกรัมแคลเซียมคาร์บอเนตต่อลิตร ค่าออกซิเดชั่นรีดักชั่นโพเทนเชี่ยลในสภาวะไม่มีอากาศอยู่ระหว่าง -400 - +100 มิลลิโวลต์ ปริมาณน้ำเสียเข้าออกเครื่องปฏิกรณ์ 24 ลิตรต่อชั่วโมง ปริมาณการใส่เมททานอล (5%v/v) 20.83 มิลลิลิตรต่อชั่วโมง
Description: Thesis (M.Eng.)--Chulalongkorn University, 2004
Degree Name: Master of Engineering
Degree Level: Master's Degree
Degree Discipline: Chemical Engineering
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/1592
ISBN: 9745314218
Type: Thesis
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Naruephu.pdf1.14 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.