Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/16043
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorบังอร ทับทิมทอง-
dc.contributor.authorณัฏฐ์ ธารเจริญ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะเศรษฐศาสตร์-
dc.coverage.spatialไทย-
dc.date.accessioned2011-09-29T10:34:21Z-
dc.date.available2011-09-29T10:34:21Z-
dc.date.issued2552-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/16043-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552en
dc.description.abstractคำนวณอัตราการเจริญเติบโตของผลิตภาพปัจจัยการผลิตโดยรวมของประเทศไทยในช่วงปี พ.ศ. 2529-2550 โดยใช้วิธีการวัดประสิทธิภาพวิธีเส้นพรมแดน (Frontier approach) ทั้งวิธีการทางเศรษฐมิติ (Parametric approach) คือ วิธี Stochastic frontier analysis หรือ SFA และวิธีการที่ไม่ใช่ทางเศรษฐมิติ (Non-parametric approach) คือ วิธี Data envelopment analysis หรือ DEA และยังใช้วิธี Growth accounting approach เพื่อที่จะเปรียบเทียบถึงการประมาณค่าที่ได้ที่มีแตกต่างกัน นอกจากนี้ยังศึกษาถึงปัจจัยที่กำหนดอัตราการเจริญเติบโต ของผลิตภาพปัจจัยการผลิตโดยรวมไว้ในส่วนสุดท้ายของงานศึกษา ผลการศึกษาภาพรวมทั้งระบบเศรษฐกิจ ในวิธี Growth accounting approach พบว่า อัตราการเจริญเติบโตของผลิตภาพปัจจัยการผลิตโดยรวม มีค่าเฉลี่ยอยู่ที่ประมาณ 0.80% ขณะที่วิธี Data envelopment analysis และวิธี Stochastic frontier analysis มีค่าเฉลี่ยของอัตราการเจริญเติบโตของผลิตภาพปัจจัยการผลิตโดยรวมอยู่ที่ 0.60% และ 0.43 ตามลำดับ ส่วนประกอบที่สำคัญอัตราการเจริญเติบโตของผลิตภาพปัจจัยการผลิตโดยรวมจะประกอบไปด้วย ประสิทธิภาพทางขนาด 0.7% ประสิทธิภาพของการจัดสรรทรัพยากร 0.05% ประสิทธิภาพทางเทคนิค 0.35% และความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี -0.26% ขณะที่พิจารณารายสาขาการผลิตพบว่า ปัจจัยทุนเป็นแหล่งที่มาที่สำคัญที่สุดของการเจริญเติบโตของผลผลิตในทุกสาขาการผลิต นอกจากนี้ผลการศึกษาปัจจัยที่กำหนดอัตราการเจริญเติบโตของผลิตภาพปัจจัยการผลิตโดยรวมนั้น พบว่า การลงทุนในทุนมนุษย์นั้นเป็นปัจจัยที่ช่วยส่งเสริมต่ออัตราการเจริญเติบโตของผลิตภาพปัจจัยการผลิตโดยรวม ดังนั้นการส่งเสริมนโยบายในการลงทุนในทรัพยากรมนุษย์ ก็จะ ช่วยให้ประเทศพัฒนาอย่างยั่งยืนได้ต่อไปen
dc.description.abstractalternativeTo estimate the Total Factor Productivity Growth (TFPG) during 1986-2007, applying both the parametric and the nonparametric Approach. The Three methods are Growth Accounting Method, Data Envelopment Analysis and the Stochastic Frontier Analysis. The study also includes the determinants of total factor productivity growth. The empirical results show that the average TFPG from the Growth accounting Method is about 0.8%, TFPG from the DEA method is about 0.6% and it is about 0.43% from the Stochastic Frontier Analysis. The composition of TFPG can be derived 0.7% from scale effect, 0.05% from allocative efficiency, 0.35% from technical efficiency and -0.26 from technical progress. The sectoral analysis of TFPG indicates that the important source of growth is the growth of capital. Finally, the determinants of TFPG are foreign direct investment, trade openness, human capital, economy of scale. Therefore, the government should have the policy to strengthen human capital knowledge and training program to help increase efficiency of the economy.en
dc.format.extent2036875 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2009.855-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการเพิ่มผลผลิตทางอุตสาหกรรม -- ไทยen
dc.subjectปัจจัยการผลิตen
dc.titleการวิเคราะห์อัตราการเจริญเติบโตของผลิตภาพปัจจัยการผลิตโดยรวมของประเทศไทยen
dc.title.alternativeThe analysis of total factor productivity growth in Thailanden
dc.typeThesises
dc.degree.nameเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineเศรษฐศาสตร์es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorBangorn.T@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2009.855-
Appears in Collections:Econ - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Nut_Th.pdf1.99 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.