Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/16232
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorSuree Choonharuangdej-
dc.contributor.advisorPeng, Zongping-
dc.contributor.authorJaranya Wichaiprasertsri-
dc.contributor.otherChulalongkorn University. Faculty of Arts-
dc.date.accessioned2011-11-29T07:23:32Z-
dc.date.available2011-11-29T07:23:32Z-
dc.date.issued2007-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/16232-
dc.descriptionThesis (M.A.)--Chulalongkorn University, 2007en
dc.description.abstract本文研究的目的是,對現代漢語副詞“就”和“才”與泰語相對應的詞語進行全面、細緻的調查、分析與對比,以便使泰國的漢語學習者能夠瞭解和把握“就”和“才”的語義特點和使用規則。本文在歸納整理一定量的語料的基礎上將現代漢語副詞“就”和“才”與泰語相對應的詞語進行了對比,以便總結出其在語義、結構及語用方面的特點與異同。本文發現“就”除了可翻譯成泰語ก็ [kɔː] 之外,還可以翻譯成เดี๋ยวนี้ / ทันที [diau niː / tʰan tʰiː]、ใกล้จะ/ จวนจะ [klai ca / cuan ca] 、 เพียง/แค่/แต่ [pʰiaŋ/ kʰɛ/ tɛː] 和ไม่ว่าอย่างไรก็ [mai waː jaːŋ rai kɔː];而“才”除了翻譯成จึง[cɯŋ]、ถึงจะ [tʰɯŋ ca] 之外, 還可以翻譯成เพิ่งจะ [pʰəːŋ ca] 、เพียง/แค่/แต่ [pʰiaŋ/ kʰɛ/ tɛː] 和ไม่มีวัน[mai miː wan]。此外,本文在對泰國大学生調查問卷分析研究的基礎上,歸納出他們的使用情況並總結了出現偏誤的原因,以幫助漢語教師瞭解其“就”和“才”的習得情況,並提出教學排序之建議。關於泰國大學生使用“就”和“才”時出現偏誤的原因,本文提出:(1) 學生在語義、結構或語用方面沒有掌握漢語規則 (2) 學生受到母語的干擾(泰語)。對於針對泰國大學生的現代漢語副詞“就”和“才”之教學語法,本文认为,應按學生的偏誤率來排序,即,先教發現錯誤少的語義項目,後教發現錯誤多的語義項目。en
dc.description.abstractalternativeการศึกษาวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อวิเคราะห์เปรียบเทียบคำวิเศษณ์ “JIU” และ “CAI” ในภาษาจีนกลางกับคำภาษาไทยในลักษณะเดียวกัน เพื่อให้ผู้เรียนชาวไทยเข้าใจและสามารถใช้คำวิเศษณ์ “JIU” และ “CAI” ได้อย่างถูกต้อง เมื่อนำคำวิเศษณ์ “JIU” และ “CAI” ที่ได้รวบรวมและเก็บตัวอย่างจากคลังข้อมูลทางภาษามาศึกษาเปรียบเทียบกับคำภาษาไทย เพื่อวิเคราะห์ความเหมือนและความต่างในแง่โครงสร้างและการใช้ พบว่า คำวิเศษณ์“JIU” นอกจากจะสามารถแปลว่า “ก็” แล้ว ยังสามารถแปลว่า “เดี๋ยวนี้ / ทันที”, “ใกล้จะ/ จวนจะ”, “เพียง/แค่/แต่” และ “ไม่ว่าอย่างไรก็” ส่วนคำวิเศษณ์ “CAI” นอกจากจะสามารถแปลว่า “ จึง” หรือ“ ถึงจะ” แล้ว ยังสามารถแปลว่า“ เพิ่งจะ”, “เพียง/แค่/แต่” และ “ไม่มีวัน” นอกจากนี้ งานวิจัยนี้ยังได้จัดทำแบบสอบถาม เพื่อใช้วิเคราะห์และศึกษาสาเหตุของ ข้อผิดพลาดของผู้เรียนชาวไทยในการใช้คำวิเศษณ์“JIU” และ “CAI” เพื่อช่วยให้ผู้สอนภาษาจีนเข้าใจสถานการณ์และข้อผิดพลาดในการใช้คำทั้งสองของผู้เรียน พร้อมทั้งเสนอแนะแนวทางการจัดลำดับการสอน จากการศึกษาพบว่า ข้อผิดพลาดในการใช้คำวิเศษณ์ “JIU” และ “CAI” ของผู้เรียนชาวไทยนั้นเป็นผลมาจาก (๑) ผู้เรียนไม่เข้าใจหลักเกณฑ์ทางความหมาย โครงสร้างไวยากรณ์และการใช้ของ “JIU” และ “CAI” อย่างถ่องแท้ (๒) ผู้เรียนได้รับอิทธิพลจากภาษาแม่ (ภาษาไทย) ดังนั้นจึงได้อาศัยสถิติข้อผิดพลาดในการใช้คำวิเศษณ์ “JIU” และ “CAI” ของผู้เรียนชาวไทยมาเป็นแนวทางในการจัดลำดับการสอน โดยเสนอให้สอนโครงสร้างที่มีข้อผิดพลาดในการใช้น้อยก่อน แล้วจึงสอนโครงสร้างที่มีข้อผิดพลาดในการใช้สูงen
dc.format.extent2809725 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isozhes
dc.publisherChulalongkorn Universityen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2007.2140-
dc.rightsChulalongkorn Universityen
dc.subjectThai language -- Adjectiveen
dc.subjectChinese language -- Adjectiveen
dc.titleA comparative study of adverbs "JIU" and "CAI" in Mandarin Chinese and their Thai equivalentsen
dc.title.alternativeการศึกษาเปรียบเทียบคำวิเศษณ์ "JIU" และ "CAI" ในภาษาจีนกลางกับคำภาษาไทยในลักษณะเดียวกันen
dc.typeThesises
dc.degree.nameMaster of Artses
dc.degree.levelMaster's Degreees
dc.degree.disciplineChinese as a Foreign Languagees
dc.degree.grantorChulalongkorn Universityen
dc.email.advisorSuree.C@Chula.ac.th-
dc.email.advisorNo information provided-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2007.2140-
Appears in Collections:Arts - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Jaranya_wi.pdf2.74 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.