Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/16257
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorฉลอง สุนทราวาณิชย์-
dc.contributor.authorเมธีพัชญ์ จงวโรทัย-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะอักษรศาสตร์-
dc.coverage.spatialไทย-
dc.date.accessioned2011-12-02T07:43:05Z-
dc.date.available2011-12-02T07:43:05Z-
dc.date.issued2549-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/16257-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (อ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549en
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์ฉบับนี้มุ่งศึกษาความเปลี่ยนแปลงของสุขาภิบาลระหว่างปี พ.ศ. 2440-2476 โดยในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ลัทธิล่าอาณานิคมเป็นภัยที่ชนชั้นปกครอง ให้ความสำคัญเป็นอย่างยิ่ง พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวมีพระราชดำริเห็นความสำคัญของคติ "ศิวิไลซ์" ว่าจะเป็นวิถีทางที่นำพาสยามออกจาก "ภาระของคนผิวขาว" ด้วยเหตุนี้พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวจึงมีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ตั้ง "สุขาภิบาล" ขึ้น เพื่อพัฒนา "คน" กับ "เมือง" ให้เจริญควบคู่กันไป โดยอาศัยแบบแผน "การปกครองท้องที่" ซึ่งข้าราชการมีบทบาทนำเข้ามาขับเคลื่อนการดำเนินงานของสุขาภิบาล ล่วงเข้าสู่รัชกาลพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว และพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว สังคมการเมืองในสยามได้เปลี่ยนแปลงไปจากที่เคยเป็นมา ราษฎรเรียกร้องต้องการสิทธิและส่วนร่วมในการปกครองเพิ่มมากขึ้น ชนชั้นปกครองในช่วงเวลาดังกล่าวพิจารณาเห็นว่าสุขาภิบาลแต่เดิมจัดในลักษณะที่เป็นราชการ จึงไม่สอดคล้องกับความต้องการของยุคสมัย ดังนั้นจึงมีแนวความคิดที่จะจัดตั้ง Municipality ขึ้น อย่างไรก็ตาม แนวความคิดดังกล่าวได้มีการนำมาปฏิบัติใชัเป็นครั้งแรกภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี พ.ศ. 2475 โดยจัดในรูป "การปกครองท้องถิ่น" ซึ่งกำหนดให้มีการจัดตั้ง "เทศบาล" เพื่อให้ราษฎรได้ปกครองตนเองอย่างแท้จริงen
dc.description.abstractalternativeThe objective of this thesis is to study the evolution of "Sukhaphiban" during 1897-1933. Starting from the reign of King Rama V when Western Colonialism became the most serious threat, the king believed that the promotion of civilization was the only way to prevent the nation from being subjected to 'the White Man's Burden'. Thus he launched "Sukhaphiban", local administration systems led by bureaucrats, to 'civilize' his subjects and towns. During the reigns of King Rama VI and Rama VII, the political situations changed significantly. People in increasing number demanded their basic rights and political participation. Soon, Siamese elites realized that "Sukhaphiban" no longer matched the demand. There was a wide discussion among the elites about the idea of "Municipality" a system that would allow local citizens to elect their own representatives. Nevertheless, it was only after the 1932 revolution that this system was truly introduced and implemented.en
dc.format.extent21112240 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2006.156-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectไทย -- ประวัติศาสตร์ -- กรุงรัตนโกสินทร์, 2394-2475en
dc.subjectสุขาภิบาลen
dc.subjectไทย -- การเมืองและการปกครองen
dc.subjectการปกครองท้องถิ่น -- ไทยen
dc.titleสุขาภิบาล : การปกครองท้องที่สยาม พ.ศ. 2440-2476en
dc.title.alternativeSukhaphiban : local administration in Siam, 1897-1933en
dc.typeThesises
dc.degree.nameอักษรศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineประวัติศาสตร์es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorChalong.S@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2006.156-
Appears in Collections:Arts - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Maetheepat_Je.pdf20.62 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.