Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/16274
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปราวีณยา สุวรรณณัฐโชติ-
dc.contributor.authorชนิชดา ชนะกิจจานุกิจ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.date.accessioned2011-12-04T07:24:08Z-
dc.date.available2011-12-04T07:24:08Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/16274-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการเรียนแบบสืบสอบบนเว็บด้วยวิธีการเรียนแบบร่วมมือที่ แตกต่างกันที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและพฤติกรรมการมีส่วนร่วมทางการเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น และเพื่อศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อการเรียนแบบสืบสอบบนเว็บโดยใช้เว็บเควสท์ และวิกิ กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนที่กำลังศึกษาในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ของโรงเรียนสาธิตศิลปากร จำนวน 48 คน สุ่มกลุ่มตัวอย่างเข้ากลุ่มทดลอง กลุ่มละ 24 คน กลุ่มทดลองที่ 1 เรียนแบบสืบสอบบนเว็บที่มีวิธีการเรียนแบบร่วมมือแบบต่อบทเรียน (Jigsaw II) กลุ่มทดลองที่ 2 เรียนแบบสืบสอบบนเว็บที่มีวิธีการเรียนแบบร่วมมือแบบกลุ่มสืบสอบ (Group Investigation) โดยจัดให้ทุกกลุ่มมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเท่ากัน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย เว็บการเรียนการสอนแบบสืบสอบในรูปแบบเว็บเควสท์ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน แบบประเมินความร่วมมือในการปฏิบัติงานกลุ่ม แบบประเมินพฤติกรรมการมีส่วนร่วมของผู้เรียน และแบบสอบถาม ความคิดเห็น สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูลคือ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที (t–test)ผลการวิจัยพบว่า 1. นักเรียนที่เรียนด้วยวิธีการเรียนแบบร่วมมือที่ต่างกันในการเรียนแบบสืบสอบบนเว็บ มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนไม่แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2. นักเรียนที่เรียนด้วยวิธีการเรียนแบบร่วมมือที่ต่างกันในการเรียนแบบสืบสอบบนเว็บ มีพฤติกรรมการมีส่วนร่วมทางการเรียนไม่แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3. นักเรียนมีความคิดเห็นต่อกิจกรรมการเรียนด้วยเว็บเควสท์ในระดับมากทุกด้าน ดังนี้ 1) ช่วยจุดประเด็นความสนใจ 2) ช่วยให้ศึกษาหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ตโดยไม่เสียเวลา 3) ช่วยให้รู้จักการคิดแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ 4) ส่งเสริมให้เกิดการสร้างความรู้ร่วมกัน 5) ช่วยให้เกิดการปฏิบัติงานเกิดผลสูงสุด และนักเรียนมีความคิดเห็นต่อการใช้วิกิอยู่ในระดับมากทุกด้านเช่นเดียวกัน ดังนี้ 1) ใช้งานได้สะดวกในการเขียนและแก้ไขผลงานร่วมกัน 2) เอื้อประโยชน์ให้สามารถทำงานร่วมกันได้ทุกที่ 3) เอื้อให้เกิดการมีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็น 4) กระตุ้นให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการทำงาน 5) เหมาะสมกับการร่วมมือกันทำงานแบบออนไลน์en
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were 1) to study the effects of inquiry – based learning on web with different types of cooperative learning upon lower secondary students’ learning achievement and participations behaviors in social studies, religious, and culture subject area and 2) to study the opinions of students about using webquest and wiki in inquiry–based learning on web. The samples were 48 ninth grade students of Silpakorn University Demonstration School. The samples were assigned into two experimental groups (24 students in each group). The first group studied inquiry–based learning on web with “Jigsaw II” method of cooperative learning, and the second group studied inquiry–based learning on web with “Group Investigation” method of cooperative learning. The research instruments were webquest, learning achievement test, cooperation rubric, participation behaviors rubric and questionnaire about using webquest and wiki. Data was analyzed using the descriptive statistics and the t-test. The major findings were as follows: 1. There was found no significant difference at .05 level between types of cooperative learning in inquiry–based learning on web towards learning achievement. 2. There was found no significant difference at .05 level between different types of cooperative learning in inquiry–based learning on web towards participating learning behaviors. 3. The opinions of students about webquest were found in high level all items as follow: 1) stimulate learners’ interesting 2) facilitate learners to search for information on the internet 3) encourage learners’ problem-solving 4) promote collaborative learning among learners 5) help learners work efficiently. And wiki was rated and found a high level all items as follow: 1) easy to use for collaborative writing and editing 2) easy to use anywhere 3) facilitate learners to share ideas 4) motivate learners to participate cooperative working 5) suitable for using online collaborative learning.en
dc.format.extent2667544 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2007.1307-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการทำงานกลุ่มในการศึกษาen
dc.subjectการเรียนการสอนผ่านเว็บen
dc.titleผลของการเรียนแบบสืบสอบบนเว็บด้วยวิธีการเรียนแบบร่วมมือที่แตกต่างกันที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและพฤติกรรมการมีส่วนร่วมทางการเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้นen
dc.title.alternativeEffects of inquiry-based learning on web with different types of cooperative learning upon lower secondary student's learning achievement and participations behaviors in social studies, religious, and culture subject areaen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineโสตทัศนศึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorpraweenya@yahoo.com-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2007.1307-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Chanitchada_ch.pdf2.61 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.