Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/16328
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพิมพ์รำไพ เปรมสมิทธ์-
dc.contributor.authorจันทร์งาม ชูตระกูล-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะอักษรศาสตร์-
dc.date.accessioned2011-12-07T10:47:06Z-
dc.date.available2011-12-07T10:47:06Z-
dc.date.issued2552-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/16328-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (อ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552en
dc.description.abstractศึกษาการรับสารนิเทศด้านสุขภาพเกี่ยวกับโรคกระดูกพรุนของผู้สูงอายุ ในด้านแหล่งสารนิเทศและเนื้อหาสารนิเทศที่ได้รับ รวมถึงปัญหาในการรับสารนิเทศด้านสุขภาพเกี่ยวกับโรคกระดูกพรุนของผู้สูงอายุ การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ โดยการเก็บรวบรวมข้อมูลจากการสัมภาษณ์ผู้สูงอายุที่ป่วยเป็นโรคกระดูกพรุน ที่มารับบริการรักษาพยาบาลที่แผนกผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลรัฐในเขตกรุงเทพมหานคร จำนวน 3 แห่งๆ ละ 100 ราย รวมทั้งสิ้น 300 ราย ผลการศึกษาพบว่า ผู้สูงอายุส่วนใหญ่ได้รับสารนิเทศด้านสุขภาพเกี่ยวกับโรคกระดูกพรุนจากแหล่งบุคคล โดยได้รับคำแนะนำจากแพทย์ เนื้อหาสารนิเทศที่ผู้สูงอายุส่วนใหญ่ได้รับคือ เรื่องปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคกระดูกพรุน การป้องกันด้านการโภชนาการ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคและอาการ ยารักษาโรค การป้องกันการหกล้ม การป้องกันด้านการออกกำลังกาย การวินิจฉัยโรค และการป้องกันด้านพฤติกรรมสุขภาพ ตามลำดับ สำหรับปัญหาในการรับสารนิเทศด้านสุขภาพที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดคือ ผู้สูงอายุไม่มีเวลาที่จะร่วมกิจกรรมรณรงค์เกี่ยวกับสุขภาพen
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were 1) to study health information reception on osteoporosis of the elderly, in terms of, information sources and content on osteoporosis; and 2) to investigate problems in health information reception on osteoporosis of the elderly. This study was a survey research in which data was collected by interviewing the elderly having osteoporosis and being outpatient in three hospitals in Bangkok. The results indicate that most of elderly received health information on osteoporosis from interpersonal source by receiving suggestions from physicians. Content on osteoporosis that most of elderly received are the potential risk factor, nutrition supplementation for prevention, osteoporosis definition, pharmacological treatment, falls prevention, exercise for prevention, diagnosis of osteoporosis and proper health behavior respectively. The problems in health information reception faced by most elderly with the highest arithmetic mean is having insufficient time for participating in health campaign.en
dc.format.extent1630131 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2009.1-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectกระดูกพรุนen
dc.subjectผู้สูงอายุen
dc.subjectพฤติกรรมสุขภาพen
dc.subjectความต้องการสารสนเทศen
dc.subjectOsteoporosis-
dc.subjectOlder people-
dc.subjectHealth behavior-
dc.subjectInformation needs-
dc.titleการรับสารนิเทศด้านสุขภาพเกี่ยวกับโรคกระดูกพรุนของผู้สูงอายุen
dc.title.alternativeHealth information reception on osteoporosis of the elderlyen
dc.typeThesises
dc.degree.nameอักษรศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineบรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorPimrumpai.P@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.58837/CHULA.THE.2009.1-
Appears in Collections:Arts - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
junngam_ch.pdf1.59 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.