Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/16466
Title: Dynamic behaviors of forest fire in upper Nan wastershed during 1999-2007
Other Titles: ลักษณะการเกิดไฟป่าเชิงพลวัตบริเวณลุ่มน้ำน่านตอนบนระหว่างปี พ.ศ. 2542-2550
Authors: Chanita Duangyiwa
Advisors: Sombat Yumuang
Nantana Gajaseni
Other author: Chulalongkorn University. Faculty of Science
Advisor's Email: Sombat.Y@Chula.ac.th
Nantana.G@chula.ac.th
Subjects: Forest fires -- Thailand
Geographic information systems
Remote sensing
Issue Date: 2009
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: The applications of geographic information system (GIS) and remote sensing help gathering and analysis the spatial patterns of the forest fire more quickly and more efficiently. This research used the temporal Landsat-5 TM imageries covered the upper Nan watershed, Thailand, acquired between December to April during 1999-2007, to study the changes of the forest fire affected areas. In this study, Landsat-5 TM bands 7-4-2 were chosen to create the false color composite. The visual interpretation combined with Difference Normalized Burn Ratio (dNBR) method was conducted to analyze the forest fire affected areas that were created in GIS database. Field investigations were also used to test for accuracy of the forest fire interpretation. The results were used to produce the burned scar maps and synthesize for the trend of forest fire distribution during those periods. The analysis found that most forest fire patches distributed on high mountainous and steep slope area that are mainly in the northern part of the watershed. The forest fire areas in 1999, 2001, 2004 and 2007 were summarized approximately as 37 km2, 107 km2, 81 km2, and 80 km2, respectively. The relationships of burned areas and relevant parameters, namely slope, aspect, distance from road, distance from settlement, vegetation and land cover were analyzed for forest fire susceptibility assessment. Various maps were constructed from the forest fire relevant parameters derived from the database. The parameters, univariant probability method, and calculation of forest fire susceptibility were applied to modify the forest fire rating risk classes and be presented as the forest fire risk map in the upper Nan watershed. The final results from this research can be used as a spatial data for supporting decision making in handling, monitoring, and controlling the forest fires in Thailand for much better efficient management.
Other Abstract: การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีรีโมทเซ็นซิ่งร่วมกับระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ ช่วยรวบรวมและวิเคราะห์รูปแบบเชิงพื้นที่ของไฟป่าได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพมากขึ้น งานวิจัยครั้งนี้ได้ใช้ข้อมูลภาพถ่ายจากดาวเทียม LANDSAT-5 ระบบ TM ที่บันทึกระหว่างช่วงเดือนธันวาคมถึงเดือนเมษายน ช่วงระหว่างปี พ.ศ. 2542-2550 ในบริเวณลุ่มน้ำน่านตอนบน ประเทศไทย ศึกษาการเปลี่ยนแปลงของพื้นที่ป่าที่ถูกไฟไหม้ในบริเวณดังกล่าว ในการศึกษาได้ใช้ข้อมูลภาพถ่ายจากดาวเทียม LANDSAT-5 ระบบ TM และเลือกช่วงคลื่นที่จะมาวิเคราะห์จำนวน 3 ช่วงคลื่น คือ 7, 4 และ 2 เพื่อทำภาพผสมสีเท็จ แปลตีความพื้นที่ป่าที่ถูกไฟไหม้ด้วยสายตา บนจอภาพ ร่วมกับการใช้วิธีการหาค่าดัชนีความแตกต่างของการเผาไหม้ จากนั้นจึงนำข้อมูลพื้นที่ป่าที่ถูกไฟไหม้ที่ได้มาจัดสร้างเป็นฐานข้อมูลสารสนเทศภูมิศาสตร์ และตรวจสอบความถูกต้องของการแปลความหมายของพื้นที่ป่าที่ถูกไฟไหม้ด้วยการสุ่มสำรวจในภาคสนาม จากนั้นจึงนำผลที่ได้มาจัดทำเป็นแผนที่แสดงพื้นที่ และสังเคราะห์แนวโน้มการกระจายตัวการเกิดไฟป่าดังกล่าวในแต่ละช่วงเวลาตามลำดับ ผลการศึกษาพื้นที่เกิดไฟป่าบริเวณลุ่มน้ำน่านตอนบนปี พ.ศ. 2542, 2544, 2547 และ 2550 พบว่ามี ไฟป่าเกิดขึ้นในแต่ละปี คิดเป็นพื้นที่รวมประมาณ 37, 107, 81, และ 80 ตารางกิโลเมตร ตามลำดับ ซึ่งผลการวิเคราะห์ทั้ง 4 ช่วงเวลาพบว่า พื้นที่เกิดไฟป่าส่วนมากจะอยู่ในเขตพื้นที่ภูเขาสูงและพื้นที่ลาดชัน ที่อยู่ในบริเวณ ตอนเหนือของพื้นที่ลุ่มน้ำน่านตอนบน การวิเคราะห์เพื่อประเมินความสัมพันธ์ของปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเกิดไฟป่า ได้ใช้ข้อมูลจากพื้นที่เกิดไฟป่าและข้อมูลที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ความลาดชัน ทิศของความลาดชัน ระยะห่างจากถนน ระยะห่างจากที่ตั้ง ชุมชน พืชพรรณ และสิ่งปกคลุมดิน มาวิเคราะห์ด้วยวิธีของความน่าจะเป็นแบบตัวแปรเดี่ยว และการ คำนวณค่าความสัมพันธ์ของปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเกิดไฟป่า ผลการวิเคราะห์ได้จัดทำเป็นแผนที่แสดงความสัมพันธ์ของปัจจัย ที่มีอิทธิพลต่อการเกิดไฟป่าขึ้นในบริเวณพื้นที่ศึกษา และยังได้นำผลที่ได้ไปประยุกต์ใช้เพื่อจัดทำเป็นแผนที่แสดงพื้นที่เสี่ยงต่อการเกิดไฟป่า ในบริเวณลุ่มน้ำน่านตอนบนเอาไว้ด้วย ข้อมูลและผลวิเคราะห์ที่ได้จากการศึกษาในครั้งนี้ สามารถนำไปใช้เป็นข้อมูลเชิงพื้นที่สำหรับสนับสนุนการตัดสินใจ ในการกำกับ ติดตามและควบคุมการเกิดไฟป่าในพื้นที่ดังกล่าว ให้การจัดการไฟป่ามีประสิทธิภาพอย่างเป็นรูปธรรมที่มีเป้าหมายในเชิงพื้นที่ที่ชัดเจน ในการดำเนินการที่ดีขึ้นในอนาคต
Description: Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2009
Degree Name: Master of Science
Degree Level: Master's Degree
Degree Discipline: Earth Sciences
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/16466
URI: http://doi.org/10.14457/CU.the.2009.2005
metadata.dc.identifier.DOI: 10.14457/CU.the.2009.2005
Type: Thesis
Appears in Collections:Sci - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
chanita_du.pdf7.22 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.