Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/16549
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | นันทวัฒน์ บรมานันท์ | - |
dc.contributor.author | ศักดา ศรีภูมี | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิติศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2012-01-22T01:18:54Z | - |
dc.date.available | 2012-01-22T01:18:54Z | - |
dc.date.issued | 2552 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/16549 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (น.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552 | en |
dc.description.abstract | องค์การมหาชนจะต้องมีความเป็นอิสระในการกำหนดระบบบริหารงานบุคคลของตนเอง วิทยานิพนธ์นี้มีจุดมุ่งหมายที่จะศึกษาโครงสร้างทางกฎหมายของระบบบริหารงานบุคคลขององค์การมหาชนไทย ที่จัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติองค์การมหาชน พ.ศ. 2542 โดยใช้กรณีศึกษาจากสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) (สมศ.) และศึกษาเปรียบเทียบระบบบริหารงานบุคคลของหน่วยงานภาครัฐไทยในระบบราชการและรัฐวิสาหกิจ เพื่อเสนอแนวคิดในการแก้ไขและจัดระบบบริหารงานบุคคลต่อไป ผลการศึกษาเปรียบเทียบพบว่า ระบบบริหารงานบุคคลขององค์การมหาชนอยู่ภายใต้ กรอบทางกฎหมายและยึดหลักความเป็นอิสระในการบริหารจัดการ ที่มุ่งผลสัมฤทธิ์ของงานเป็นสำคัญ โดยยังมีข้อบกพร่องทางกฎหมาย ได้แก่ ปัญหานิติสัมพันธ์ของเจ้าหน้าที่องค์การมหาชน ภายใต้กรอบระบบบริหารงานบุคคลของเจ้าหน้าที่องค์การมหาชน ความไม่เพียงพอของบทบัญญัติแห่งกฎหมาย ที่ไม่อาจกำหนดกรอบมาตรฐานกลางด้านการบริหารงานบุคคลได้อย่างสมบูรณ์ รวมทั้งข้อบกพร่องด้านการประกันสิทธิและการระงับข้อพิพาทของเจ้าหน้าที่องค์การมหาชน ส่งผลให้เกิดความด้อยกว่าเมื่อเปรียบเทียบกับระบบบริหารงานบุคคลภาครัฐอื่นในส่วนของราชการและรัฐวิสาหกิจ ในหลายๆ ประการ จึงเสนอให้มีการแก้ไขเพิ่มเติม พระราชบัญญัติองค์การมหาชน พ.ศ. 2542 โดยกำหนดกรอบมาตรฐานกลางด้านการบริหารงานบุคคลอย่างเพียงพอและสร้างความชัดเจนในเรื่อง สถานภาพ สิทธิและหน้าที่ของเจ้าหน้าที่องค์การมหาชนอย่างถูกต้องและเป็นธรรม และมีความทัดเทียมกับองค์กรภาครัฐและภาคเอกชน เพื่อให้องค์การมหาชนคือ Employer of choice ต่อไป | en |
dc.description.abstractalternative | The public organizations must have the freedom to set their own personnel administration system. This thesis analyzes public personnel administration in a study of the Office for National Education Standards and Quality Assessment (Public Organization)(ONESQA) in accordance with law structure by comparing the system of the public organization case with those of Civil Bureau and State Enterprises. The research intends to propose some strategies to improve and direct the personnel administration of the public organization at some point. From the comparative study, the public organizations have the freedom to set their own personnel administration system under the laws and the new public management. However there are legal problems in the public personnel administration as follows: the legal status of the officers, the inadequate of the public personnel provisions of the law on public organization and the lack of the protection of the right in the due process principle of its personnel administration process compared to Civil Bureau and State Enterprise. The thesis presents the solutions to the public personnel administration in the public organization by amendment to the law on public organization to the improvement of the minimum standards in the public personnel administration and to advocate a public organization as “Employer of choice”, the unequal entitlements of personnel administration process compared to Civil Bureau and State Enterprise as well as other state and private sectors should be appropriately improved. | en |
dc.format.extent | 1691081 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.2009.1166 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา | en |
dc.subject | การบริหารงานบุคคล | en |
dc.title | ระบบบริหารงานบุคคลขององค์การมหาชน : ศึกษากรณีสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) | en |
dc.title.alternative | Personnel administration in the public organization : a study of the Office for National Education Standards and Quality Assessment (Public Organization) | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | นิติศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | นิติศาสตร์ | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.email.advisor | ajarnnan@hotmail.com | - |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.2009.1166 | - |
Appears in Collections: | Law - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
sakda_sr.pdf | 1.65 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.