Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/16717
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกาญจนา แก้วเทพ-
dc.contributor.authorวชิระ ทองสุก-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิเทศศาสตร์-
dc.coverage.spatialไทย-
dc.date.accessioned2012-02-05T07:52:10Z-
dc.date.available2012-02-05T07:52:10Z-
dc.date.issued2552-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/16717-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552en
dc.description.abstractศึกษาประวัติความเป็นมาของแนวดนตรีสกา-เร็กเก้ และการแพร่กระจายของวัฒนธรรมดนตรีสกา-เร็กเก้ในประเทศไทย โดยใช้กรอบแนวคิดทางด้านดนตรีและแนวคิดเรื่องวัฒนธรรมย่อยวัยรุ่น แนวคิดเรื่องการแพร่กระจายทางวัฒนธรรม แนวคิดเรื่องการผลิตซ้ำเพื่อสืบทอดวัฒนธรรม รวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลจากการสัมภาษณ์เจาะลึกศิลปินเพลงสกา-เร็กเก้ของไทย วิเคราะห์เอกสารและผลงานเพลงตลอดจนการสังเกตการณ์อย่างมีส่วนร่วม ผลการวิจัยพบว่า พัฒนาการของดนตรีสกา-เร็กเก้ในประเทศไทยแบ่งออกเป็น 3 ช่วงคือ 1. ช่วงดนตรีเร็กเก้เริ่มปรากฏในสังคมไทย (พ.ศ. 2527-2534) สไตล์ดนตรีแบบเร็กเก้ปรากฏในบทเพลงไทยสมัยนิยม และมีบทเพลงแนวสกาของวงดนตรีชาติตะวันตกเปิดทางคลื่นวิทยุรายการ ไนท์ สปอต อีกทั้งมีกลุ่มนักดนตรีในสถานบันเทิงนำบทเพลงแนวเร็กเก้ของศิลปินชาวต่างชาติมาเล่น 2. ช่วงดนตรีสกา-เร็กเก้ปรากฏในอุตสาหกรรมดนตรีไทยสมัยนิยม (พ.ศ. 2535-2546) วง “ทีโบน” คือกลุ่มศิลปินแนวสกา-เร็กเก้วงแรกของประเทศไทย 3. ช่วงดนตรีสกา-เร็กเก้เติบใหญ่ (พ.ศ. 2547-2552) เกิดกระแสนิยมเพลงสกา-เร็กเก้ในสังคมไทย มีวงดนตรีแนวสกา-เร็กเก้ออกอัลบั้มมามากมาย จนค่ายเพลงใหญ่อย่างแกรมมี่และอาร์เอสได้เปิดเซกเม้นท์เฉพาะของเพลงแนวสกา-เร็กเก้ ช่องทางสำคัญในการแพร่กระจายของวัฒนธรรมดนตรีสกา-เร็กเก้ในประเทศไทยในปัจจุบันนั้นได้แก่ เทศกาลคอนเสิร์ตเฉพาะ การแสดงโชว์ในสถานบันเทิง และร้านขายซีดีเพลงอินดี้ สำหรับปัจจัยสำคัญที่ทำให้เพลงสกา-เร็กเก้ได้รับความนิยมในสังคมไทยนั้น เนื่องมาจากเปรียบเสมือนสัญลักษณ์แห่งความสนุกสนานผ่อนคลาย สภาพธุรกิจในยุคทุนนิยมอุตสาหกรรม และความเบื่อหน่ายต่อบทเพลงสมัยนิยมของผู้ฟังเฉพาะกลุ่มen
dc.description.abstractalternativeTo study origin, development and diffusion of ska-reggae culture in Thailand. The theories and concepts use as framework for this study include music concept, cultural diffusion, youth subculture, postmodern music and lyrics analysis. Data is collected and analyzed by the method of in-depth interview of Thai ska-reggae music artists document analysis, the analysis of music albums and participatory observation. The study finds show that development of Thai ska-reggae music can be divided into 3 periods: 1) The period which reggae music style being applied within Thai pop song and within group of musician in the pub (1984-1991) 2) The First appearing of reggae music in Thai popular music industry “T-Bone” is the first ska-reggae band in Thailand (1992-2003) 3) The Growth of ska-reggae music with many ska-reggae album and then GMM and RS Promotion has build up the new segment of music with ska-reggae music (2004-2009). The important way for diffusion of ska-reggae culture are concert festival of ska-reggae music, pub and Indy Music CD Shop. The ska-reggae music has popular in Thai social because like a symbolic of joyfulness and relax, industrial capitalism business system and be weary of Thai pop song in niche audience.en
dc.format.extent7157094 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2009.727-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectดนตรีเร็กเก้ -- ไทยen
dc.subjectดนตรีสกา -- ไทยen
dc.subjectวัฒนธรรมย่อย -- ไทยen
dc.titleจุดกำเนิด พัฒนาการ และการแพร่กระจายของวัฒนธรรมดนตรีสกา-เร็กเก้ในประเทศไทยen
dc.title.alternativeOrigin, development and diffusion of ska-reggae culture in Thailanden
dc.typeThesises
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineการสื่อสารมวลชนes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorKanjana.Ka@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2009.727-
Appears in Collections:Comm - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
wachira_th.pdf6.99 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.