Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/17404
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorโสรีช์ โพธิแก้ว-
dc.contributor.advisorอุ่นใจ แววศร-
dc.contributor.authorพวงเพชร เกษรสมุทร-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2012-03-07T02:06:02Z-
dc.date.available2012-03-07T02:06:02Z-
dc.date.issued2536-
dc.identifier.isbn9745829765-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/17404-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2536en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาผลของการปรึกษาเชิงจิตวิทยาแบบกลุ่มตามแนว โรเจอร์สที่มีต่อการลดความวิตกกังวลในหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยง โดยมีสมมุติฐานการวิจัยว่าหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงที่ได้รับการปรึกษาเชิงจิตวิทยาแบบกลุ่มตามแนวโรเจอร์ส จะมีคะแนนความวิตกกังวลต่ำกว่าก่อนการเข้ากลุ่ม การวิจัยนี้ใช้วิธีการวิจัยแบบมีกลุ่มทดลองกลุ่มเดียว มีการทดสอบก่อนและหลังการทดลอง (One Group Pretest – Posttest Design) เครื่องมือที่ใช้ได้แก่ แบบวัดความวิตกกังวลของหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น กลุ่มตัวอย่างเป็นหญิงตั้งครรภ์ที่แพทย์ได้ให้การวินิจฉัยแล้วว่า มีภาวะแทรกซ้อนเกิดขึ้นในระหว่างการตั้งครรภ์ครั้งนี้ และเป็นคนไข้สามัญที่กำลังพักรักษาตัวอยู่ที่ตึกจุฑาธุชชั้น 5 โรงพยาบาลศิริราช ซึ่งมีคะแนนที่ได้จากแบบวัดความวิตกกังวลของหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงสูงกว่าคะแนนในตำแหน่งเปอร์เซ็นต์ไทล์ที่ 75 (48.75 คะแนนจากคะแนนเต็ม 90 คะแนน) และเป็นผู้ที่สมัครใจเข้าร่วมกลุ่มการวิจัย จำนวน 8 คน กลุ่มตัวอย่างทุกคนเข้าร่วมกลุ่มการปรึกษาเชิงจิตวิทยาเป็นเวลาติดต่อกัน 10 วัน วันละ 2 ชั่วโมง รวม 20 ชั่วโมง โดยมีผู้วิจัยเป็นผู้นำกลุ่มตามแนวทางของโรเจอร์ส กลุ่มตัวอย่างตอบแบบวัดความวิตกกังวลก่อนเข้ากลุ่มและตอบแบบวัดฉบับเดียวกันทันทีหลังจากสิ้นสุดการทดลอง ในการวิเคราะห์ข้อมูล ผู้วิจัยได้ทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยของคะแนนความวิตกกังวลของกลุ่มตัวอย่างก่อน และหลังการเข้ากลุ่มการปรึกษาเชิงจิตวิทยา ด้วยวิธีการทดสอบค่าที (t-test) ผลการวิจัย พบว่าหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงที่ได้รับการปรึกษาเชิงจิตวิทยาแบบกลุ่มตามแนวโรเจอร์สภายหลังการเข้ากลุ่ม มีคะแนนความวิตกกังวลลดลงกว่าก่อนเข้ากลุ่มอย่างมี นัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01-
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was to study the effects of Rogerian group counseling on reducing anxiety in high risk pregnant women. The tested hypothesis was that anxiety of high risk pregnant women after having participated in Rogerian group counseling would decrease significantly. The research design was the one group pretest posttest design. The instrument was the Anxiety in High Risk Pregnant Women Survey developed by the researcher. The sample was 8 pregnant women who were diagnosed by the doctor as having high risk and was admitted in Siriraj Hospital. They had score in Anxiety in High Risk Pregnant Women Survey higher than 75 percentiles (48.75 scores from 90). This volunteered sample was participated in Rogerian group counseling session for 10 consecutive days for 2 hours each day. The researcher was the group leader. The sample answered the Anxiety in High Risk Pregnant Women Survey before and after the group counseling. Differences between the set of scores were tested for significance by the t-dependent test. The results showed that anxiety in high risk pregnant women who participated in Rogerian group counseling decreased significantly at the 0.01 level.-
dc.format.extent311022 bytes-
dc.format.extent1261757 bytes-
dc.format.extent379963 bytes-
dc.format.extent383242 bytes-
dc.format.extent277102 bytes-
dc.format.extent295493 bytes-
dc.format.extent1180450 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectสตรีมีครรภ์ -- แง่จิตวิทยาen
dc.subjectความวิตกกังวลen
dc.titleผลของการปรึกษาเชิงจิตวิทยาแบบกลุ่มตามแนวโรเจอร์สต่อการลดความวิตกกังวลในหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงen
dc.title.alternativeEffects of Rogerian group counseling on reducing anxiety in high risk pregnant womenen
dc.typeThesises
dc.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineจิตวิทยาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorPsoree@chula.ac.th-
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Paungpet_Ka_front.pdf303.73 kBAdobe PDFView/Open
Paungpet_Ka_ch1.pdf1.23 MBAdobe PDFView/Open
Paungpet_Ka_ch2.pdf371.06 kBAdobe PDFView/Open
Paungpet_Ka_ch3.pdf374.26 kBAdobe PDFView/Open
Paungpet_Ka_ch4.pdf270.61 kBAdobe PDFView/Open
Paungpet_Ka_ch5.pdf288.57 kBAdobe PDFView/Open
Paungpet_Ka_back.pdf1.15 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.