Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/17899
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สุชาดา กีระนันทน์ | - |
dc.contributor.author | วัลภา ประกอบผล | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | - |
dc.date.accessioned | 2012-03-14T13:50:44Z | - |
dc.date.available | 2012-03-14T13:50:44Z | - |
dc.date.issued | 2523 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/17899 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (พณ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2523 | en |
dc.description.abstract | ในการประมาณค่าสัมประสิทธิ์การถดถอยสำหรับกรณีที่มีการทดสอบสมมติฐานเกี่ยวกับค่าหรือความสัมพันธ์ของสัมประสิทธิ์การถดถอยวิธีการประมาณค่าที่ใช้กันอยู่โดยทั่วไปจะใช้ข้อมูลทั้งหมดที่มีในการทดสอบสมมติฐานและข้อมูลชุดเดียวกันนั้นประมาณค่าสัมประสิทธิ์การถดถอยตามผลที่ได้จากการทดสอบสมมติฐาน ซึ่งวิธีการนี้อาจทำให้ตัวประมาณที่ได้ทีคุณภาพไม่ดีเท่าที่ควรในบางกรณีเนื่อง จากตัวสถิติที่ใช้ในการทดสอบสมมติฐานและตัวประมาณค่ามีความสัมพันธ์กัน วิทยานิพนธ์นี้ทำการ ศึกษาวิธีการประมาณค่าสัมประสิทธิ์การถดถอยเมื่อแบ่งข้อมูลออกเป็นสองส่วนโดยใช้ส่วนหนึ่งในการทดสอบสมมติฐานและอีกส่วนหนึ่งในการประมาณค่า เมื่อทราบผลการทดสอบแล้ว และจะทำการเปรียบเทียบคุณภาพของวิธีการประมาณค่าทั้งสองวิธีว่าวิธีใดจะดีกว่าในกรณีใดและขึ้นอยู่กับตัวพารามิเตอร์ใดบ้างโดยใช้ค่าเฉลี่ยความคลาดเคลื่อนกำลังสองเป็นเกณฑ์ ทั้งนี้โดยมีข้อจำกัดว่า ข้อมูลทั้งสองส่วนมีขนาดเท่ากัน เป็นอิสระต่อกัน และมีค่าของตัวแปรอิสระชุดเดียวกัน ผลจากการศึกษาปรากฏว่า ค่าเฉลี่ยความคลาดเคลื่อนกำลังสองของตัวประมาณค่าที่เกิด ขึ้นมีลักษณะโดยทั่วไปเช่นเดียวกับค่าเฉลี่ยความคลาดเคลื่อนกำลังสองของตัวประมาณค่าที่เกิดขึ้นจากการใช้วิธีการทั่วไป และเมื่อเปรียบเทียบคุณภาพของวิธีการประมาณค่าทั้งสองวิธีโดยใช้ค่าเฉลี่ยความคลาดเคลื่อนกำลังสองเป็นเกณฑ์ ปรากฏว่าไม่มีวิธีการใดจะดีกว่าอีกวิธีการหนึ่งในทุกกรณี แต่วิธีการประมาณค่าที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้จะดีกว่าวิธีการที่ใช้กันอยู่ทั่วไปเมื่อ Non-centrality parameter มีค่าอยู่ในช่วงหนึ่งโดยขีดจำกัดของช่วงนี้ขึ้นอยู่กับค่าของจำนวน ข้อจำกัดสัมประสิทธิ์การถดถอยที่ต้องการทดสอบสมมติฐาน จำนวนตัวอย่างข้อมูลและค่าวิกฤต ของการทดสอบสมมติฐาน | - |
dc.description.abstractalternative | In estimating the regression coefficients when hypotheses about these values are tested, the entire set of available data is generally used in testing the hypotheses about and estimating the regression coefficients. This method may not give the best estimates for every case because the statistics used for testing .the hypotheses and for estimating are correlated. This study investigates the case where the data into halves, one for hypotheses testing and the other for estimating the coefficients after the result of hypotheses testing is known. This method is compared with the previous method through their mean square errors. The comparison is made under the constraints that the two halves are indendendent and have the same set of values for the independent variables. The study reveals that neither method is absolutely better than the other. However, the method examined in this study is better when the values of non-centrality parameters are within an interval of which the limits depend upon the number of restrictions, the sample size and the critical value of prior hypotheses testing. | - |
dc.format.extent | 291816 bytes | - |
dc.format.extent | 275362 bytes | - |
dc.format.extent | 440130 bytes | - |
dc.format.extent | 480432 bytes | - |
dc.format.extent | 293138 bytes | - |
dc.format.extent | 260388 bytes | - |
dc.format.extent | 436502 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | สถิติศาสตร์ | en |
dc.title | การประมาณค่าสัมประสิทธิ์การถดถอยเมื่อมีการทดสอบสมบัติฐานโดยใช้ข้อมูลต่างชุดกัน | en |
dc.title.alternative | An estimation of regression coefficients when hypoteses are tested using differents sets of data | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | พาณิชยศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | สถิติ | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.email.advisor | suchada.ki@acc.chula.ac.th | - |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Vallapa_Pr_front.pdf | 284.98 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Vallapa_Pr_ch1.pdf | 268.91 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Vallapa_Pr_ch2.pdf | 429.81 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Vallapa_Pr_ch3.pdf | 469.17 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Vallapa_Pr_ch4.pdf | 286.27 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Vallapa_Pr_ch5.pdf | 254.29 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Vallapa_Pr_back.pdf | 426.27 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.