Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/1793
Title: กฎหมายสำหรับบริการอินเตอร์เนทในประเทศไทย : กรอบ ข้อเสนอแนะ และ การควบคุมดูแล การให้บริการ
Other Titles: Legal framework for regulation Internet in Thailand
Authors: เลอสรร ธนสุกาญจน์
จิตตภัทร เครือวรรณ์
สุธรรม อยู่ในธรรม
Email: Jittapatr.K@Chula.ac.th
Lerson.T@Chula.ac.th
Other author: สถาบันทรัพย์สินทางปัญญาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะเศรษฐศาสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ภาควิชากฎหมายปกครองและกฎหมายทั่วไป
Subjects: โทรคมนาคม (ข่ายงานคอมพิวเตอร์)--กฎหมายและระเบียบข้อบังคับ
อินเตอร์เน็ต--กฎหมายและระเบียบข้อบังคับ
อินเตอร์เน็ต--แง่เศรษฐศาสตร์
Issue Date: 2541
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: ผู้วิจัยพบว่าการพัฒนาทางเทคโนโลยีเครือข่ายดำเนินไปอย่างรวดเร็วมากและกฎหมายที่มีอยู่สามารถปรับใช้ได้อย่างจำกัดกับกิจกรรมต่าง ๆ บนเครือข่ายอินเตอร์เนทไม่ว่าจะเป็นด้านสังคม สันทนาการ และกิจกรรมเพื่อการพาณิชย์ผ่านเครือข่าย ผู้ใช้บริการอินเตอร์เนทจากสังคมเปิดย่ามคาดหวังว่าตนสามารถใช้สิทธิหรือเสรีภาพที่ตนมีหรือเคยมีอยู่ในเครือข่ายอินเตอร์เนทด้วย ในขณะที่ผู้ใช้บริการที่อยู่ในสังคมอื่นมีลักษณะเสรีน้อยกว่าามักจะคาดหวังว่าตนจะใช้สิทธิหรือเสรีภาพที่ตนไม่เคยได้รับอย่างเต็มที ความพยายามที่จะให้มีกฎหมายที่เกี่ยวกับการกำกับดูแลเครือข่ายเพื่อการสมาคม และสันทนาการนั้นประสบความล้มเหลวมาโดยตลอด ส่งผลให้สังคมเครือข่ายเป็นสังคมที่ปลอดจากการควบคุมของรัฐ และผู้ใช้เครือข่ายคาดหวังว่าจะสามารถใช้เเครือข่ายอินเตอร์เนทโดยปลอดจากการรบกวนของภาครัฐ ในส่วนของการดำเนินธุรกิจผ่านเครือข่ายนั้น ผู้วิจัยพว่าความพยายามสร้างระบบและวิธีการทางกฎหมายเพื่อกำกับการใช้เครือข่ายอินเตอร์เนทเพื่อการพาณิชย์ยังอยู่ในช่วงเริ่มต้น โดยเพิ่งจะมีการประชุมระหว่างประเทศเพียงครั้งแรกสำหรับเวทีต่าง ๆ ทั้งนั้น แต่ผู้วิจัยคาดว่าหลักกฎหมายในเวทีระหว่างประเทศจะพัฒนาไปได้เร็ว เนื่องจากมีความจำเป็นเร่งด่วนที่จะสร้างโครงสร้างพื้นฐานเพื่อรองรับการพาณิชย์อิเลคโทรนิคส์ สำหรับประเทศไทยผู้วิจัยเห็นว่ากรอบของกฎหมายที่เหมาะสมควรเป็นกฎหมายสนับสนุน ส่งเสริมการใช้เครือข่ายอินเตอร์เนทอย่างเป็นธรรมและเท่าเทียมกัน เพื่อการสมาคมและสันทนาการมากกว่าการควบคุม แต่อาจจะต้องมีเงื่อนไขสำหรับการใช้เครื่อข่ายไปในทางที่ผิด เช่น อาชญากรรม หรือการละเมิดสิทธิเด็ก เป็นต้น ส่วนกรอบของกฎหมายเพื่อการพาณิชย์อิเลคโทรนิคส์นั้น ผู้วิจัยเห็นว่าควรจะกระทำในระดับระหว่างประเทศ และประเทศไทยควรจะเตรียมการสำหรับการเข้าร่วมการเจรจาหรือเตรียมการในด้านต่าง ๆ ในเวทีระหว่างประเทศเพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดจากการเข้าร่วมเป็นส่วนหนึ่งของเครือข่าย
Other Abstract: It has been found that the existing legal infrastruvture cannot cope with advancement in network technology. Internet has increasingly become a public place where "members" who come from diverse social. economic, and oiltical settings are linked into one cyber community.Thus the users who connect to the cyber community from a free & liberal society expect to enjoy similar freedom or status quo ante in cyberspace while those who connect to the cyberspace from a less liberal society expect to enjoy freedom they never have. Internt community is therefore an anarchy where States and government alike lose control and jurisdiction. However, Internet is not used only for civic & social purpose, but it has been widely used i commerse. Attempt to regulate commerce in Internet is only begun It is noted that many meetings and discussion in various forum were done only once at international level. But more meeting and discussion are expected to conclude. The researchers recommend that an appropriate approach to deal with electronic commerce, as a part of a global information infrastructure, should be to regulate it through international legal arrangement. It is expected that international norm governing this global information infrastructure will be emerged very soon. For Thailand, the proper regime of law should be one which promotes fair & equitable use of Internet but not to control the use and the growth of Internet. However some qualification may be posed to protect those who may be susceptible to abuse of right (and freedom) such as safeguarding against child abuse, crime and money laudering. As for proper regime for electronic commerce, it is recommended that Internet law may be successful if international cooperation is sought. Thus Thailand should be prepared to participate in international forum to optimize opportunity one might gain from joining and being a part of the network.
Description: บทที่ 1: บทนำ -- บทที่ 2: พื้นฐานของเครือข่ายอินเตอร์เนท -- บทที่ 3: เวอร์ลไวด์เว็บ -- บทที่ 4: ประเด็นสำคัญด้านเศรษฐศาสตร์ของระบบอินเตอร์เนท -- บทที่ 5: การพัฒนาทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเปลี่ยนแปลงสภาพสังคมและกฎหมาย -- บทที่ 6: บทสรุป
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/1793
ISBN: 974716984
Type: Technical Report
Appears in Collections:Law - Research Reports

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Lersan(ne).pdf39.65 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.