Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/17948
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สมหวัง พิธิยานุวัฒน์ | - |
dc.contributor.author | จันทร์ ติยะวงศ์ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | - |
dc.date.accessioned | 2012-03-14T15:44:27Z | - |
dc.date.available | 2012-03-14T15:44:27Z | - |
dc.date.issued | 2528 | - |
dc.identifier.isbn | 9745660213 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/17948 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2528 | en |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้มุ่งศึกษารูปแบบในการทำนายผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่เหมาะสมของนิสิตครุศาสตร์ชั้นปีที่ 1 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยศึกษารูปแบบการทำนายทั้งเชิงเส้นโค้งและเชิงเส้นตรง กลุ่มตัวอย่างทั้งสิ้น 286 คน เป็นนิสิตครุศาสตร์ชั้นปีที่ 1 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยในปีการศึกษา 2527 การเก็บรวบรวมข้อมูลใช้แบบสอบถามสถานภาพส่วนตัว แบบสอบแมทริซิสก้าวหน้าขั้นสูง แบบสำรวจนิสัยในการเรียน แบบสอบความถนัดเหตุผลเชิงนามธรรม แบบสอบความถนัดแหตุผลเชิงภาษา แบบวัดทัศนคติต่อวิชาชีพครู และแบบสอบถามสภาพแวดล้อมทางบ้าน ซึ่งจะทำให้ได้ตัวแปรทำนาย 13 ตัว และเมื่อนำไปเป็นตัวทำนายเพื่อสร้างสมการเส้นโค้ง จะมีตัวแปรทำนายทั้งหมด 104 ตัวคือ ตัวแปรทำนายกำลังหนึ่ง 13 ตัว ตัวแปรทำนายกำลังสอง 13 ตัว และตัวแปรทำนายในรูปเทอมปฏิสัมพันธ์ลำดับที่หนึ่ง 78 ตัว พร้อมทั้งคัดลอกผลการเรียนจากสมุดระเบียนประวัติ นำข้อมูลมาวิเคราะห์โดยคำนวณค่าร้อยละ ค่ามัชฌิมเลขคณิต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สัมประสิทธิ์การกระจาย สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์ลัน และใช้การวิเคราะห์ถดถอย พหุคูณแบบเพิ่มตัวแปรเป็นขั้นๆ (Stepwise Multiple Regression Analysis) ข้อค้นพบที่สำคัญของกาวิจัยคือ 1. ตัวแปรที่มีความสัมพันธ์ในทางบวกกับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนิสิตครุศาสตร์ชั้นปีที่ 1 ได้แก่ ความรู้เดิม สติปัญญา นิสัยในการเรียน คุณวุฒิบิดา และความถนัดเหตุผลเชิงภาษา 2. รูปแบบที่เหมาะสมในการทำนายผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของกลุ่มตัวอย่างนิสิตครุศาสตร์ชั้นปีที่ 1 ทั้งที่รวมทุกสาขาวิชา และแยกเป็นสาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย ประถมศึกษา มัธยมศึกษา (มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์) พลศึกษา ดนตรีศึกษาและการศึกษานอกระบบโรงเรียน ได้แก่ รูปแบบการทำนายเชิงเส้นโค้งและเชิงเส้นตรง สำหรับนิสิตสาขาวิชาศิลปศึกษาและธุรกิจศึกษามีรูปแบบการทำนายผลสัมฤทธิ์ที่เหมาะสมเป็นรูปแบบเชิงเส้นโค้ง | - |
dc.description.abstractalternative | The purpose of this study was to find an appropriate model for predicting academic achievement of the first year Education students of Chulalongkorn University. This research used both curvilinear and linear model for forming the predicting equations. The subjects were 286 first year Education students of Chulalongkorn University in academic year of 1984. The data were collected by students’ background questionnaires, Advanced Progressive Matrices, study Habits Inventory, Attitude toward teaching Profession Inventory Abstract reasoning, Verbal reasoning and the survey of students’ environment. There were 13 independent variables. These variables were used to be 104 predicted variables in the curvilinear model, consisting of 13 first degree, 13 second degree and 78 first order interaction predicted variables. The dependent variable was academic achievement. Percentage, Mean, Standard Deviation, Coefficient of Variation, Pearson Product Moment Coefficient and Stepwise Multiple Regression Analysis were used to analyze the obtained data. The major findings were as follow : 1. The variables which positively correlated with academic achievement of the first year Education students were G.P.A. in M.S.6, Intelligence, Study Habits, Father Education, and verbal reasoning. 2. The curvilinear and linear regression models are the appropriate models for predicting academic achievement of the first year Education students of Chulalongkorn University. But the appropriate model for predicting academic achievement of the first year Art Education and Business students of Education Faculty is only curvilinear. | - |
dc.format.extent | 418896 bytes | - |
dc.format.extent | 358285 bytes | - |
dc.format.extent | 681126 bytes | - |
dc.format.extent | 437333 bytes | - |
dc.format.extent | 1250932 bytes | - |
dc.format.extent | 666267 bytes | - |
dc.format.extent | 491627 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | นิสิตนักศึกษา -- วิจัย | en |
dc.title | รูปแบบที่เหมาะสมในการทำนายผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนิสิตครุศาสตร์ชั้นปีที่ 1 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.title.alternative | Appropriate models for predicting academic achievement of the first year education students of chulalongkorn university | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | ครุศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | วิจัยการศึกษา | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.email.advisor | Somwung.P@chula.ac.th | - |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Jun_Ti_front.pdf | 409.08 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Jun_Ti_ch1.pdf | 349.89 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Jun_Ti_ch2.pdf | 665.16 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Jun_Ti_ch3.pdf | 427.08 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Jun_Ti_ch4.pdf | 1.22 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Jun_Ti_ch5.pdf | 650.65 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Jun_Ti_back.pdf | 480.1 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.