Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/18443
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorทวีวัฒน์ ปิตยานนท์-
dc.contributor.authorนภาลัย โสระฐี-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2012-03-23T12:35:57Z-
dc.date.available2012-03-23T12:35:57Z-
dc.date.issued2526-
dc.identifier.isbn9745622877-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/18443-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2526en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีเป้าหมายเพื่อเปรียบเทียบความสามารถขั้นพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่เรียนหลักสูตรพุทธศักราช 2503 และ 2521 และศึกษากระบวนการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร์ในระดับชั้นนี้ กลุ่มตัวอย่างเป็นครู 7 คน และนักเรียน 428 คน ที่สุ่มจากโรงเรียนในสังกัดสำนักงานการประถมศึกษากรุงเทพมหานคร การเก็บรวบรวมข้อมูลใช้แบบสังเกตกระบวนการเรียนการสอน แบบเชาวน์ปัญญาชื่อแมทริซีสก้าวหน้ามาตรฐาน แบบสอบทักษะขั้นพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ และแบบทดสอบการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ทดสอบความแตกต่างระหว่างสัดส่วนโดยการหาค่าซี และทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยด้วยวิธีการวิเคราะห์ความแปรปรวนร่วม ผลการวิจัยพบว่า 1. พฤติกรรมการเรียนการสอนของครูและนักเรียนที่ใช้หลักสูตรใหม่มีถึง 9 พฤติกรรม อยู่ในเกณฑ์ดี และมี 1 พฤติกรรมอยู่ในเกณฑ์ดีมากคือ การกล้าแสดงออกของนักเรียน พฤติกรรมการเรียนการสอนของครูและนักเรียนที่ใช้หลักสูตรเก่าส่วนใหญ่อยู่ในเกณฑ์พอใช้ และมี 2 พฤติกรรมอยู่ในเกณฑ์ที่ควรปรับปรุงคือ การเน้นกระบวนการกลุ่มและการกล้าแสดงออกของนักเรียน 2. สัดส่วนของนักเรียนหลักสูตรใหม่ที่ได้คะแนนผ่านเกณฑ์ในด้านทักษะขั้นพื้นฐานทางคณิตศาสตร์สูงกว่านักเรียนหลักสูตรเก่าอย่างมีนัยยะสำคัญที่ระดับ .01 3. สัดส่วนของนักเรียนหลักสูตรใหม่ที่ได้คะแนนผ่านเกณฑ์ในด้านการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์สูงกว่านักเรียนหลักสูตรเก่าอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .01 4. นักเรียนหลักสูตรใหม่และนักเรียนหลักสูตรเก่ามีความสามารถในการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์ ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05-
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was to compare the basic mathematics ability of prathom suksa six students in the B.E. 2503 and the B.E. 2521 curricula and to study the process of mathematics teaching of this grade. The samples were 7 teachers and 428 students from elementary schools in Bangkok. The data were collected by observing the process of teaching and learning, the Standard Progressive Matrices, the basic mathematics skill test, and the problem solving in mathematics test. The data were analyzed by mean, standard deviation, testing differences between proportions and analysis of covariance. The major findings were as follows: In term of teacher-student behavior of those who use the new curriculum, 9 categories of behavior are classified as good, and one classified as very good is student’s courage in showing. For those who use old curriculum, most of them are classified as “fair”, and two of them are classified as below the standard. Group process and the courage in showing must to be improved. The proportions of students under the new curriculum who passed the basic mathematics skill test are significantly higher than those under the old curriculum. The proportions of students under the new curriculum who passed the test in mathematics problem solving are significantly higher than those under the old curriculum. Both students under the new and the old curriculum are not significantly different at .05 level in mathematics basic skill. Both students under the new and the old curriculum are not significantly different at .05 level in mathematics problem solving.-
dc.format.extent346237 bytes-
dc.format.extent385166 bytes-
dc.format.extent541331 bytes-
dc.format.extent394069 bytes-
dc.format.extent319385 bytes-
dc.format.extent294545 bytes-
dc.format.extent673662 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.titleการเปรียบเทียบความสามารถขั้นพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่หกที่เรียนหลักสูตรพุทธศักราช 2503 และ 2521en
dc.title.alternativeA comparison of basic mathematics ability of prathom suksa six students in the B.E. 2503 and the B.E. 2521 curriculaen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิจัยการศึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorTaweewat.p@chula.ac.th-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Napalai_So_front.pdf338.12 kBAdobe PDFView/Open
Napalai_So_ch1.pdf376.14 kBAdobe PDFView/Open
Napalai_So_ch2.pdf528.64 kBAdobe PDFView/Open
Napalai_So_ch3.pdf384.83 kBAdobe PDFView/Open
Napalai_So_ch4.pdf311.9 kBAdobe PDFView/Open
Napalai_So_ch5.pdf287.64 kBAdobe PDFView/Open
Napalai_So_back.pdf657.87 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.