Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/1892
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจินตนา ยูนิพันธุ์-
dc.contributor.authorรุ่งกาล คลังวิจิตร, 2511--
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะพยาบาลศาสตร์-
dc.date.accessioned2006-08-17T06:41:23Z-
dc.date.available2006-08-17T06:41:23Z-
dc.date.issued2546-
dc.identifier.isbn9741737939-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/1892-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้เป็นวิจัยกึ่งทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบความพึงพอใจของผู้ใช้ บริการก่อนและหลังการใช้กระบวนการทำงานของทีมของพยาบาลห้องผ่าตัด กลุ่มตัวอย่าง คือผู้ป่วยในที่มา รับการรักษาด้วยการผ่าตัดศัลยกรรมทั่วไปหรือการผ่าตัดทางสูติ-นรีเวช ในโรงพยาบาลเซนต์หลุยส์ จำนวน 50 คน เครื่องมือที่ใช้ในการทดลองคือ แผนการใช้กระบวนการทำงานเป็นทีมของพยาบาลห้องผ่าตัดซึ่งผู้วิจัยสร้างขึ้นโดยการสังเคราะห์เนื้อหาจาก แนวคิดเชิงทฤษฎีเกี่ยวกับกระบวนการทำงานเป็นทีม เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินผลการทดลองคือ แบบวัดความพึงพอใจของผู้ใช้บริการที่ ผู้วิจัยสร้างขึ้นจากการสัมภาษณ์และตามแนวคิดของ Eriksen (1988) ซึ่งได้ผ่านการตรวจสอบ ความตรงตามเนื้อหาโดยผู้ทรงคุณวุฒิและค่าความเที่ยงของแบบวัดเท่ากับ .98 วิเคราะห์ข้อมูลโดย ใช้ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติทดสอบที ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ ความพึงพอใจของผู้ใช้บริการทุกด้าน หลังการใช้กระบวนการพยาบาลของทีมพยาบาล ผ่าตัด สูงกว่ากลุ่มการทำงานเป็นทีมของพยาบาลห้องผ่าตัดตามปกติ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05en
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this quasi-experimental research were to compare the client satisfaction before and after using teamwork in operating room nurses. Research samples were 50 in-patients in general surgery or obstetrical-gynecology surgery units of Saint Louis Hospital. The research instruments used in the experiment was a teamwork plan, which was developed by the researcher utilizing the content derived from the theoretical framework. Research data were gathered by a questionnaire of client satisfaction based on Eriksen's concept of patient satisfaction (1988). The instruments were tested for content validity. The reliability of the questionnaire was .98. Mean, standard deviation and t-test were used for statistical analysis. Major findings was as follows : The client satisfaction after using teamwork in operating room nurses in all aspects was significantly higher than before using teamwork, at the .05 level.en
dc.format.extent998665 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothen
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectพยาบาลห้องผ่าตัด -- การทำงานเป็นทีมen
dc.subjectความพอใจของผู้ใช้บริการen
dc.titleผลของการใช้กระบวนการทำงานเป็นทีมของพยาบาลห้องผ่าตัดต่อความพึงพอใจของผู้ใช้บริการen
dc.title.alternativeThe Effect of teamwork in operating room nurses on client satisfactionen
dc.typeThesisen
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตen
dc.degree.levelปริญญาโทen
dc.degree.disciplineการบริหารการพยาบาลen
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorJintana.Y@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Nurse - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
roongkarn.pdf1.59 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.