Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/18939
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorทิศนา แขมมณี-
dc.contributor.authorสมใจ บุญอุรพีภิญโญ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2012-04-01T05:14:54Z-
dc.date.available2012-04-01T05:14:54Z-
dc.date.issued2521-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/18939-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2521en
dc.description.abstractวัตถุประสงค์ของการวิจัย การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) สร้างชุดการสอนเรื่องการขนส่งและการคมนาคมในชุมชน สำหรับชั้นประถมศึกษาปีที่สอง ตามหลักสูตร 2521 กลุ่มวิชาสร้างเสริมประสบการณ์ชีวิต และ 2) หาประสิทธิภาพของชุดการสอนโดยศึกษาหาความแตกต่างด้านสัมฤทธิผลการเรียนของนักเรียนระหว่างก่อนและหลังเรียนรวมทั้งศึกษาความคิดเห็นของครูเกี่ยวกับการใช้ชุดการสอน วิธีดำเนินการวิจัย ผู้วิจัยได้ศึกษาวิธีสร้างชุดการสอนสำหรับครู รวมทั้งศึกษาหลักสูตร แผนการสอน แบบเรียน คู่มือครูและเลือกเนื้อหาเรื่อง “การขนส่งและการคมนาคมในชุมชน” นำมาสร้างเป็นชุดการสอน ต่อจากนั้นได้สร้างแบบสอบวัดสัมฤทธิผลทางการเรียนขึ้น แล้วนำแบบสอบที่สร้างขึ้นมาวิเคราะห์ปรับปรุงได้ค่าความเที่ยง 0.71 และสร้างแบบประเมินผลชุดการสอนเป็นแบบมาตราส่วนประเมินค่า (Rating Scale) โดยการกำหนดค่าของคะแนนออกเป็นระดับ 1 ถึง 5 ต่อมาได้นำชุดการสอนไปทดลองในขั้นแรกกับครู 2 คน แล้วจึงนำมาปรับปรุง หลังจากนั้นจึงได้นำชุดการสอนนี้ไปทดลองสอนกับกลุ่มตัวอย่างประชากรคือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่สอง จำนวน 6 ห้องและครู 6 คน จาก 3 โรงเรียน และนำแบบประเมินผลชุดการสอนไปให้ครูจำนวน 20 คน ได้ประเมินผลคือ ครูผู้ใช้ชุดการสอนครั้งแรก 2 คน ครูผู้ใช้ชุดการสอนในขั้นทดลองจริง 6 คน และครูผู้ชำนาญการสอนในระดับประถมศึกษาที่มิได้ใช้ชุดการสอน แต่ได้ศึกษาชุดการสอนอีก 12 คน หลังจากนั้นผู้วิจัยได้นำคะแนนสอบนักเรียนแต่ละกลุ่มมาเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์การเรียนระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียนด้วยการทดสอบค่าที (t-test) และนำข้อมูลจากแบบประเมินผลมาหาค่าเฉลี่ย (Mean) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) ผลการวิจัย จากผลการวิเคราะห์ข้อมูลปรากฏว่า 1. นักเรียนทั้ง 6 กลุ่ม มีสัมฤทธิ์ผลการเรียนระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียนแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 แสดงว่าชุดการสอนนี้มีประสิทธิภาพช่วยให้นักเรียนมีสัมฤทธิ์ผลการเรียนสูงขึ้น สมดังสมมติฐานที่ตั้งไว้ 2. ความคิดเห็นของครูผู้ใช้ชุดการสอนและครูผู้ชำนาญการสอนในระดับประถมศึกษาเกี่ยวกับชุดการสอนแต่ละหน่วยมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับ 4.42 – 4.62 จากค่าคะแนนระดับ 1 ถึง 5 และความคิดเห็นเกี่ยวกับการใช้ชุดการสอนมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับ 4.67 เมื่อนำไปเปรียบเทียบกับค่ามาตราส่วนของเบสท์ (Best) ปรากฏว่า ชุดการสอนนี้มีความเหมาะสมมากสามารถนำไปใช้สอนได้อย่างมีประสิทธิภาพ และระดับความพอใจของครูในการใช้ชุดการสอนนี้อยู่ในระดับสูงมากเป็นไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว้-
dc.description.abstractalternativePurposes : The purposes of this study were 1) to construct Instructional Packages on “ Transportation and Communication in Community” for Prathom Suksa Two, based on the Curriculum for Elementary Education B.E. 2521 and 2) to find the effectiveness of the whole packang by finding the significant difference between the pre-test and post-test scores and studying the teachers’ opinions upon using the Packages. Procedures : First, the researcher studied the process of Package Construction and the Curriculum which includes, lesson plans, text-books, and teacher’s manuals. Then, the topics of “Transportation and Communication in Community” was chosen for package construction. After that, the achievement test was constructed and tried-out respectively. The reliability of the test yielded at .71. The researcher also constructed a questionnaire for evaluating the package. This questionnaire was in the form of rating scale ranging from 1-5. The Packages were tried out first with two teacher for the purpose of package improvement. Then they were tried out again with 6 teachers and 6 classes of Prathom Suksa Two students. The questionnaire was also usedwith 20 teachers : 2 teachers from the first try-out, 6 teachers from the second try-out, and 12 experienced elementary teachers who never used these Packages before. The Data was then collected and analyzed by using t-test, Mean and Standard Deviation. Findings : 1. The pre-test and post-test scores of every group of students in this study yielded a significant difference at the .01 level. This somehow indicated that the Package constructed could be used effectively with the students. 2. From the five point scale, the ratings from 20 teachers ranged between 4.42-4.62. When using Best criteria, the packages criteria, the packages constructed were at “the most suitable” level. Teachers’ opinions upon using the packages had the Mean at 4.67. This indicated that the level of teachers’ satisfaction in using the packages was very high.-
dc.format.extent552675 bytes-
dc.format.extent659822 bytes-
dc.format.extent2099148 bytes-
dc.format.extent561582 bytes-
dc.format.extent542183 bytes-
dc.format.extent564939 bytes-
dc.format.extent5586979 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectสังคมศาสตร์ -- การศึกษาและการสอนen
dc.titleการสร้างชุดการสอนเรื่อง "การขนส่งและการคมนาคมในชุมชน" สำหรับชั้นประถมศึกษาปีที่สองen
dc.title.alternativeConstruction of an instructional packageson "Transportation and Communication in Communitty" for prathom suksa twoen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineประถมศึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorTisana.K@chula.ac.th-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Somjai_Bo_front.pdf539.72 kBAdobe PDFView/Open
Somjai_Bo_ch1.pdf644.36 kBAdobe PDFView/Open
Somjai_Bo_ch2.pdf2.05 MBAdobe PDFView/Open
Somjai_Bo_ch3.pdf548.42 kBAdobe PDFView/Open
Somjai_Bo_ch4.pdf529.48 kBAdobe PDFView/Open
Somjai_Bo_ch5.pdf551.7 kBAdobe PDFView/Open
Somjai_Bo_back.pdf5.46 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.