Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/19188
Title: Cost-Effectiveness of Public and Metropolitan Dots Centres in Kathmandu Metropolitan City, Nepal
Other Titles: การวิเคราะห์ต้นทุนประสิทธิผลของศูนย์เฝ้ารักษาทางตรงโรควัณโรคของรัฐบาลกลางและของรัฐบาลท้องถิ่นเมืองกาฐมาณฑุ ประเทศเนปาล
Authors: Sitaram Ghimire
Advisors: Paitoon Kraipornsak
Pirom Kamol-Ratanakul
Other author: Chulalongkorn University. Faculty of Economics
Advisor's Email: Paitoon.K@Chula.ac.th
Pirom.K@Chula.ac.th
Subjects: Tuberculosis -- Nepal
Cost Effectiveness
Issue Date: 2007
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: Tuberculosis (TB) is still a major cause of death worldwide. It is one of the major public health problems in Nepal. About 45 percent of the total populations are infected with TB, out of which 60 percents are adult and 70 percent of cases in the most economically productive age group. Though DOTS strategy being success in TB control, it is still a big challenges in urban area. This cost effectiveness analysis was carried out in Kathmandu Metropolitan city from provider prospective. Three from public (government health institution) and four from Metropolitan DOTS centers were selected for the study purpose. The public DOTS centers had microscopy and x-ray facility while Metropolitan DOTS centre had not. The study period was mid July 2005 to mid July 2006. Cost per effectiveness in public DOTS centers ranges from US$ 87 to US$ 197, while Metropolitan DOTS centers ranges from US$ 83 to US$ 116. The result showed that capital cost of each DOTS centre are less than 17 percent of total providers’ cost. But labor cost varied from 18 percent to 38 percent. In public DOTS centers, labor cost was 29 percent to 38.3 percent while in Metropolitan DOTS centre it was around 18 percent. In public DOTS center total providers’ cost found high per case treatment success because of its availability of diagnosis facility, infrastructure, staffing. In conclusion, Metropolitan DOTS centers seem more cost effective than public DOTS centre.
Other Abstract: วัณโรคยังคงเป็นสาเหตุการตายที่สำคัญอย่างหนึ่งของโลก โดยเฉพาะอย่างยิ่งวัณโรคเป็นหนึ่งในปัญหาที่สำคัญยิ่งของสาธารณสุขในประเทศเนปาล กว่าโดยร้อยละ 45 ของประชากร เป็นวัณโรคโดยที่ร้อยละ 60 เป็นประชากรในวัยผู้ใหญ่และร้อยละ 70 เป็นประชากรในวัยเจริญพันธุ์ ถึงแม้ว่ากลยุทธ์การรักษาทางตรงจะประสบความสำคัญในการควบคุมการระบาดของวัณโรคแต่ปัญหาวัณโรคยังคงเป็นความท้าทายในเขตเมือง เนื่องจากปัจจัยเสี่ยงของโรควัณโรคนั้นมีอิทธิพลมากยิ่งขึ้นในบริบทเขตเมือง ในการบริหารจัดการเกี่ยวกับผู้ป่วยโรควัณโรคเพื่อที่จะทำลายห่วงโซ่ของการแพร่ระบาดของโรควัณโรคนั้น การจัดการของรัฐบาลเพียงอย่างเดียวไม่สามารถที่จะจัดการได้อย่างมีประสิทธิภาพ ดังนั้นจึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งสำหรับการเพิ่มบทบาทของการปกครองส่วนท้องถิ่น การวิเคราะห์ต้นทุนประสิทธิผลได้รับการประเมินในเมืองกาฐมาณฑุในมุมมองของผู้ดำเนินการ โดยสำหรับขอบเขตการศึกษาด้านสถานที่ได้ทำการเลือกตัวอย่างจำนวนสามตัวอย่างจากสถาบันสาธารณสุขในภาครัฐและสี่ตัวอย่างจากศูนย์เฝ้ารักษาทางตรงโรควัณโรคในเขตเมือง โดยที่ศูนย์เฝ้ารักษาทางตรงโรควัณโรคสาธารณะนั้นมีกล้องจุลทรรศน์และเครื่องฉายรังสี x เป็นอุปกรณ์สำหรับการตรวจโรค เมื่อเทียบกับศูนย์เฝ้ารักษาทางตรงโรควัณโรคในเขตเมืองที่ไม่มีเครื่องมือดังกล่าว ขอบเขตการศึกษาด้านระยะเวลาเริ่มตั้งแต่กลางเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2548 ถึง กลางเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2549 โดยต้นทุนเฉลี่ยต่อประสิทธิผลของศูนย์เฝ้ารักษาทางตรงโรควัณโรคสาธารณะคิดเป็นประมาณ 144 ดอลลาร์สหรัฐ ในขณะที่ต้นทุนเฉลี่ยต่อประสิทธิผลของศูนย์เฝ้ารักษาทางตรงโรควัณโรคในเขตเมืองคิดเป็นประมาณ 95 ดอลลาร์สหรัฐ โดยที่ต้นทุนค่าลงทุนในแต่ละศูนย์เฝ้ารักษาทางตรงโรควัณโรคนั้นน้อยกว่าร้อยละ 17 ของต้นทุนทั้งหมด แต่ต้นทุนค่าแรงงานนั้นแตกต่างกันจากร้อยละ 18 ถึง ร้อยละ 38 ของต้นทุนทั้งหมด โดยที่ต้นทุนค่าแรงงานของศูนย์เฝ้ารักษาทางตรงโรควัณโรคสาธารณะนั้นมีค่าระหว่างร้อยละ 29 ถึง ร้อยละ 38.3 จากต้นทุนทั้งหมด ในขณะที่ต้นทุนค่าแรงงานของศูนย์เฝ้ารักษาทางตรงโรควัณโรคในเขตเมืองมีค่าระหว่างร้อยละ 18 จากต้นทุนทั้งหมด สำหรับต้นทุนต่อหนึ่งของการรักษาที่ประสบความสำเร็จของศูนย์เฝ้ารักษาทางตรงโรควัณโรคสาธารณะนั้นสูงกว่า เนื่องจากต้นทุนของโครงสร้างพื้นฐานและต้นทุนในการจ้างบุคลากร เมื่อเปรียบเทียบผลการรักษาแล้วศูนย์เฝ้ารักษาทางตรงสาธารณะมีอัตราความสำเร็จมากกว่าเป้าหมายในระดับชาติ ในขณะที่ศูนย์เฝ้ารักษาทางตรงในเขตเมืองมีอัตราที่ต่ำกว่า ดังนั้นจึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งในการพิจารณาการนำไปใช้ของประสิทธิผล โดยสรุปแล้วศูนย์เฝ้ารักษาทางตรงในเขตเมืองมีต้นทุนประสิทธิผลที่ดีกว่าศูนย์เฝ้ารักษาทางตรงสาธารณะและในเขตเมือง
Description: Thesis (M. Sc.)--Chulalongkorn University, 2007
Degree Name: Master of Science
Degree Level: Master's Degree
Degree Discipline: Health Economics
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/19188
URI: http://doi.org/10.14457/CU.the.2007.1483
metadata.dc.identifier.DOI: 10.14457/CU.the.2007.1483
Type: Thesis
Appears in Collections:Econ - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Sitaram_Gh.pdf1.06 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.