Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/19535
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ศิริลักษณ์ ศุภปีติพร | - |
dc.contributor.author | นัยนา เอื้อพงศ์กิติกุล | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะแพทยศาสตร์ | - |
dc.coverage.spatial | กรุงเทพมหานคร | - |
dc.date.accessioned | 2012-05-09T08:59:20Z | - |
dc.date.available | 2012-05-09T08:59:20Z | - |
dc.date.issued | 2551 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/19535 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551 | en |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีจุดประสงค์เพื่อศึกษาภาวะสุขภาพจิต และศึกษาปัจจัยที่มีความเกี่ยวข้องกับภาวะสุขภาพจิตของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายในโรงเรียนสิริรัตนาธร กรุงเทพมหานคร รูปแบบการวิจัยเป็นการวิจัยเชิงพรรณนา ณ ช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง (Cross-sectional descriptive Study) กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ปีที่ 4-6 ปีการศึกษา 2551 จำนวน 663 คน เพศ ชาย 265 คน เพศ หญิง 398 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยแบ่งออกเป็น 3 ส่วน คือ 1.) แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล 24 ข้อ 2.) แบบวัดการเห็นคุณค่าในตนเอง 10 ข้อ ของโรเซนเบอร์ก 3.) ดัชนีชี้วัดสุขภาพจิตคนไทยฉบับสมบูรณ์ 54 ข้อ วิเคราะห์ข้อมูลโดยโปรแกรม SPSS สถิติที่ใช้ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ทดสอบ ความสัมพันธ์กับปัจจัยที่เกี่ยวข้องด้วย Chi -Square วิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว One-Way ANOVA ผลการวิจัยพบว่า ภาวะสุขภาพจิตของนักเรียนส่วนใหญ่ ร้อยละ 48.1 มีสุขภาพจิตเท่ากับคนทั่วไป รองลงมา ร้อยละ 33.3 ที่มีภาวะสุขภาพจิตดีกว่าคนทั่วไป มีเพียง ร้อยละ18.6 มีภาวะสุขภาพจิตต่ำกว่าคนทั่วไป การเห็นคุณค่าในตนเองของนักเรียนส่วนใหญ่ ร้อยละ84.8 มีความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองมาก และ ปัจจัยที่สัมพันธ์กับสุขภาพจิตของนักเรียน คือ ระดับการศึกษา จำนวนพี่น้อง กิจกรรมบันเทิงที่ชอบในด้านการเล่นดนตรี สุขภาพ เหตุการณ์สำคัญในชีวิตเกี่ยวกับบุคคลในครอบครัวเสียชีวิต ปัญหาสุขภาพจิตด้านสมาชิกในครอบครัว ด้านการทำงานและการเรียน ด้านเพื่อนฝูง มุมมองในการสูบบุหรี่ ความสัมพันธ์ในครอบครัวและการเห็นคุณค่าในตนเอง กล่าวโดยสรุป นักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายในโรงเรียนสิริรัตนาธรส่วนใหญ่มีภาวะสุขภาพจิตดี อย่างไรก็ตามพบว่ามีนักเรียนเกือบหนึ่งในห้า มีภาวะสุขภาพจิตต่ำกว่าคนทั่วไป ซึ่งควรได้รับการประเมินและติดตาม การทราบถึงภาวะสุขภาพจิตของนักเรียนและปัจจัยที่เกี่ยวข้อง สามารถใช้เป็นแนวทางในการช่วยเหลือนักเรียนที่มีปัญหาสุขภาพจิตในระยะเริ่มแรก รวมทั้งวางแนวทางในการบริหาร จัดการ ส่งเสริม ป้องกัน ฟื้นฟูนักเรียนให้มีสุขภาพจิตที่ดี เป็นภูมิคุ้มกันชีวิตต่อสภาวะแวดล้อมต่างๆที่มากระทบ ภายใต้สภาพสังคมที่เปลี่ยนแปลง | en |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this research were to study mental health and factors prevailing to the student mental health of Sirirattanathorn Secondary School Bangkok. The research design was cross-sectional descriptive study. The sample consisted of 633 upper secondary students year 2008 who studying in Sirirattanathorn school. The instruments were demographic data, the 10 items Thai self-esteem questionnaires from Rosenberg Self-esteem inventories and the 54-items Thai mental health indicator questionnaires. The data were analyzed by SPSS for Windows. Statistics utilized consisted of percentage, mean, and standard deviation, chi-square, One-way ANOVA The major findings were as followed: 48.1% of upper secondary students, the majority, had fair mental health. 33.3% of the students had good mental health and 18.6% of the students had poor mental health. The factors related mental health was education level, number of sibling, playing music, and health, grief event, mental health problems, and attitude forward smoking, family relationships, and student's self - esteem. In conclusions, this research revealed that the majority of upper secondary students had fair mental health. However about one-fifth of the subjects had poor mental health that should be further evaluated, follow up. Factors and findings related mental health should be promoted. The poor mental health students should be cared and reassured of good mental health. The results of this research could be utilized as a guideline for administrators to manage and promote good mental health students. | en |
dc.format.extent | 1646468 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.2008.174 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | สุขภาพจิต | en |
dc.title | สุขภาพจิตของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย กรณีศึกษา : ในโรงเรียนสิริรัตนาธร สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาเขต 1 กรุงเทพมหานคร | en |
dc.title.alternative | Mental health of students in upper secondary education level case study : Sirirattanatorn secondary school Bangkok | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | สุขภาพจิต | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.email.advisor | Siriluck.S@Chula.ac.th | - |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.2008.174 | - |
Appears in Collections: | Med - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Naiyana_ua.pdf | 1.61 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.