Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/19571
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอุมาพร ตรังคสมบัติ-
dc.contributor.authorหทัยชนก หมากผิน-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะแพทยศาสตร์-
dc.date.accessioned2012-05-12T11:54:42Z-
dc.date.available2012-05-12T11:54:42Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/19571-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550en
dc.description.abstractการวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณนา ณ ช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับความเครียดในลูกวัยรุ่นของผู้ป่วยโรคจิตเภท, วิธีการจัดการกับปัญหา และปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับระดับความเครียดในลูกวัยรุ่นของผู้ป่วยโรคจิตเภทที่มารับการรักษาที่แผนกผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ และโรงพยาบาลศรีธัญญา จำนวน 68 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แบบสอบถามข้อมูลทั่วไป แบบวัดความเครียดสวนปรุง (Suanprung Stress Test-20) และแบบสอบถามวิธีที่วัยรุ่นจัดการกับปัญหา A-Cope (The Adolescent Coping Orientation for Problem Experience) ฉบับภาษาไทย วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา Independence t-test, One-way ANOVA และ Multiple linear Regression analysis ตามความเหมาะสม ผลการศึกษาพบว่า ลูกวัยรุ่นของผู้ป่วยโรคจิตเภทส่วนใหญ่มีความเครียดในระดับปานกลาง (ร้อยละ 55.9) และส่วนใหญ่ใช้การดูโทรทัศน์เป็นวิธีจัดการกับปัญหาบ่อยที่สุด (ร้อยละ 82.3) ใช้วิธีการไปหาผู้เชี่ยวชาญในการให้คำปรึกษา และการสูบบุหรี่เป็นวิธีจัดการกับปัญหาน้อยที่สุด (อย่างละร้อยละ 94.1) ปัจจัยด้านข้อมูลทั่วไปที่เกี่ยวข้องกับระดับความเครียดของลูกวัยรุ่นของผู้ป่วยโรคจิตเภท ได้แก่ เพศ ระดับการศึกษา จำนวนสมาชิกในครอบครัว โรคประจำตัวทางกายของแม่ ระดับการศึกษาของพ่อ อาชีพของพ่อ การทำกิจกรรมร่วมกับเพื่อน ส่วนปัจจัยด้านวิธีจัดการกับปัญหาที่เกี่ยวข้องกับระดับความเครียด ได้แก่ การมีอารมณ์ขัน การพูดแต่สิ่งดีๆ กับผู้อื่นการใช้ยาที่ได้รับจากแพทย์ การเรียนให้มากขึ้นและทำงานให้หนักขึ้น และการร้องไห้ ผลการศึกษานี้สามารถนำไปใช้ในการส่งเสริมสุขภาพจิตของวัยรุ่นที่มีบิดามารดาป่วยเป็นโรคทางจิตen
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this cross-sectional descriptive study was to explore the level of stress and its associated factors and ways of coping in adolescent offsprings of patients with schizophrenia, who came to the out-patient clinic of the King Chulalongkorn Memorial Hospital and Sritanya Hospital. Sixty-eight subjects were recruited. The instruments consisted 3 self-administered questionnaires: a demographic questionnaires, the Suanprung Stress Test-20 and the Modified Adolescent Coping Orientation for Problem Experience Checklist (Thai Version). The results showed that, 55.9% of the subjects had moderate level of stress and the most common way of coping was watching television, 82.3%. Smoking and consulting with psychiatrist or psychologist were the least common, 94.1% each. Factors found to be associated with the level of stress included gender, number of family members, subject's education, mother's physical disease, father's education and activity with friends. Ways of coping found to be significantly related to the level of stress included good humor, talking about the good things to other, using medication from psychiatrist, studying hard and crying. The result of this study can be used for the promotion of mental health in offsprings of patients with mental disordersen
dc.format.extent1473024 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2007.265-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectความเครียดในวัยรุ่นen
dc.subjectผู้ป่วยจิตเภทen
dc.titleความเครียดและการจัดการกับปัญหาในลูกวัยรุ่นของผู้ป่วยโรคจิตเภทen
dc.title.alternativeStress and coping among adolescent offsprings of patients with schizophreniaen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineสุขภาพจิตes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorUmaporn.Tr@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2007.265-
Appears in Collections:Med - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
hathaichanok_ma.pdf1.44 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.