Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/19838
Title: ผลของความเร็วแกรเดียนต์ในการควบคุมกลไกโคแอกูเลชั่น
Other Titles: Effects of velocity gradients in coagulation mechanisms control
Authors: กิติเทพ เลขะวิพัฒน์
Advisors: มั่นสิน ตัณฑุลเวศม์
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
Advisor's Email: ไม่มีข้อมูล
Subjects: การรวมตะกอน
เกรเดียนต์
การตกตะกอน (เคมี)
น้ำ -- การทำให้บริสุทธิ์ -- การกรอง
Issue Date: 2529
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: กระบวนการโดแอกูเลชั่น เป็นกระบวนการย่อยที่สำคัญมาก ในการกำจัดความขุ่นออกจากน้ำ โดยทำงานร่วมกับกระบวนการตกตะกอนและการกรอง ในระบบผลิตน้ำประปา ตัวแปรต่าง ๆ ที่มีผลต่อกระบวนการโดแอกูเลชั่น ได้แก่ พีเอชสุดท้าย ความขุ่นเริ่มต้น ปริมาณสารส้ม และความเร็วแกรเดียนตผลการวิจัยนี้เป็นการทดลองในห้องปฏิบัติการ เพื่อศึกษาผลของความเร็วแกรเดียนต์ ในการควบคุมกลไกโคแอกูเลชั่นโดยใช้อุปกรณ์เบล็นเดอร์ ซึ่งสามารถสร้างค่า G ได้ตั้งแต่ 500 (〖วท)〗^(-1) ถึง 5000( 〖วท)〗^(-1) และอุปกรณ์จาร์เทสท์ การทดลองใช้ปริมาณสารส้ม 2.5-50 มก/ล. น้ำขุ่นสังเคราะห เตรียมจากผลดินคาโอลิน และน้ำประปาจากการประปานครหลวง มีความขุ่น 3 ระดับ ได้แก่ 20,100 และ 500 NTU และพีเอชสุดท้าย 4-9 การทดลองแต่ละชุด กำหนดให้ความขุ่นเริ่มต้น เวลากักน้ำ และพีเอชสุดท้าย เป็นตัวแปรคงที่ โดยแปรเปลี่ยนปริมาณสารส้มในช่วงที่กำหนด ภายใต้ค่า G หนึ่ง ๆ ผลการวิจัยแสดงให้เห็นว่า ประเภทและขอบเขตของกลไกโคแอกูเลชั่น มีแนวโน้มที่จะถูกกำหนดโดยปริมาณสารส้ม และพีเอชสุดท้าย ส่วนค่าความขุ่นเริ่มต้น ไม่มีอิทธิพลที่เด่นชัด เช่นเดียวกับค่า G เมื่อเปรียบเทียบผลของคค่า G ต่าง ๆ กับจาร์เทสท์ พบว่าจาร์เทสท์ ยังคงเป็นวิธีการที่เหมาะสมสำหรับการควบคุมกระบวนการโคแอกูเลชั่น
Other Abstract: Coagulation is an important process, followed by sedimentation and filtration in water treatment, to remove turbidity. Variables that influence coagulation are a final PH value, an initial turbidity, an alum dose, a detention time, and a velocity gradient (G). This research was an experimental study to investigate effects of velocity gradients in coagulation mechanisms control. Modified commercial blender, which is able to produce G values from 500 to 5,000 (〖s)〗^(-1)) , was used together with a conventional jar-test apparatus. Alum doses were varied from 2.5 to 50 mg/l, while 3 levels of turbidity i.c. 20, 100 and 500 NTU were studied at the final pH of 4,5,6,7,8 and 9 respectively. The raw water being investigated was synthesized by mixing a proper amount of kaolinite into a tap water. During each set of jar test experimentation, only alum dose were varied while other parameters were set constant.
Description: วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2529
Degree Name: วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level: ปริญญาโท
Degree Discipline: วิศวกรรมสุขาภิบาล
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/19838
ISBN: 9745669431
Type: Thesis
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Kititep_Le_front.pdf519.51 kBAdobe PDFView/Open
Kititep_Le_Ch1.pdf241.89 kBAdobe PDFView/Open
Kititep_Le_Ch2.pdf238.99 kBAdobe PDFView/Open
Kititep_Le_Ch3.pdf638.78 kBAdobe PDFView/Open
Kititep_Le_Ch4.pdf1.18 MBAdobe PDFView/Open
Kititep_Le_Ch5.pdf1.1 MBAdobe PDFView/Open
Kititep_Le_Ch6.pdf267.01 kBAdobe PDFView/Open
Kititep_Le_Ch7.pdf222.21 kBAdobe PDFView/Open
Kititep_Le_back.pdf2.21 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.