Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/19957
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศศิลักษณณ์ ขยันกิจ-
dc.contributor.authorสนีนาฏย์ นารถพินิจ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.coverage.spatialกรุงเทพฯ-
dc.date.accessioned2012-06-01T10:31:08Z-
dc.date.available2012-06-01T10:31:08Z-
dc.date.issued2553-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/19957-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาการจัดทำสารนิทัศน์การเรียนรู้ของเด็กโดยครูอนุบาลในกรุงเทพมหานคร ใน 4 ด้าน ได้แก่ การวางแผน การจัดเก็บร่องรอยการเรียนรู้ การไตร่ตรองสะท้อนความคิด และการนำสารนิทัศน์การเรียนรู้ของเด็กไปใช้ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ ครูอนุบาล จำนวน 500 คน ในโรงเรียน 4 สังกัด ได้แก่ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน สำนักบริหารงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน สำนักการศึกษากรุงเทพมหานคร และสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์ และแบบสำรวจ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การแจกแจงความถี่และ หาค่าร้อยละ ผลการวิจัย พบว่า ครูอนุบาลในโรงเรียนทั้ง 4 สังกัด จัดทำสารนิทัศน์การเรียนรู้ของเด็กอย่างเป็นไปในทางเดียวกันโดยมีเป้าหมายหลักเพื่อการประเมินพัฒนาการและการเรียนรู้ของเด็ก ครูอนุบาลจัดทำสารนิทัศน์การเรียนรู้ของเด็ก ดังนี้ 1) การวางแผน โดยกำหนดกิจกรรมที่ต้องการเก็บรวมถึงออกแบบเครื่องมือที่ใช้ ในการบันทึกและสังเกตพฤติกรรมเด็ก 2)การจัดเก็บร่องรอยการเรียนรู้ โดยจัดเก็บหลักฐานการเรียนรู้จากผลงานศิลปะ และภาพถ่ายของเด็ก ครูอนุบาลมิได้จดบันทึกพฤติกรรมหรือคำพูดของเด็กขณะสอน 3) การไตร่ตรองสะท้อนความคิด โดยคัดเลือกผลงานเด็ก แต่มิได้สะท้อนความคิดเห็นต่อผลงานหรือหลักฐานการเรียนรู้นั้น ๆ 4) การนำสารนิทัศน์การเรียนรู้ของเด็กไปใช้ โดยประมวลเป็นสมุดรายงานพัฒนาการเด็กรายบุคคลและพอร์ตโฟลิโอของเด็กรายบุคคล แล้วจึงนำไปใช้ในการประเมินพัฒนาการและ การเรียนรู้ของเด็ก สื่อสารกับผู้ปกครอง และรับการประเมินคุณภาพภายนอกen
dc.description.abstractalternativeThe objective of this research was to study the documentation of children’s learning by preschool teachers in Bangkok metropolis in four areas;1) planning 2) documenting 3) reflecting and 4) using the documentation. Samples were 500 preschool teachers in schools under the Office of the Basic Education Commission, Office of the Private Education Commission, Department of Education Bangkok Metropolitan and Commission on Higher Education. Research instruments were questionnaire form, interview form, and survey form. Data were analyzed by frequency and percentage. The results of the research showed that preschool teachers under all 4 commissions documented children’s learning to assess child development and learning. The documentation processes were as follows; 1) planning by determining activities including desiging tools used in recording and observing children behaviors. 2) documenting by collecting learning evidences from children’s art works and photos. They did not record children behaviors or children’s words during the activities. 3) reflecting by selecting children’s work but did not reflect on the their learning. 4) using the documentation by compiling data in children’s report and individual portfolio and then used to assess child development and learning, communicate with parents and prepare for quality assurance.en
dc.format.extent1972101 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectครูอนุบาล -- บันทึกการสอน -- ไทย -- กรุงเทพฯ-
dc.subjectนักเรียนอนุบาล -- การเรียนรู้ -- ไทย -- กรุงเทพฯ-
dc.subjectการศึกษาขั้นอนุบาล -- เอกสารสนเทศ -- ไทย -- กรุงเทพฯ-
dc.subjectครู -- บันทึกประจำวัน-
dc.titleการศึกษาการจัดทำสารนิทัศน์การเรียนรู้ของเด็กโดยครูอนุบาล ในกรุงเทพมหานครen
dc.title.alternativeA study of the documentation of children’s learning by preschool teachers in Bangkok Metropolisen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineการศึกษาปฐมวัยes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorSasilak.K@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Saneenad_na.pdf1.93 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.