Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/19967
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศุภลักษณ์ พินิจภูวดล-
dc.contributor.authorปิยะ ตราชูธรรม-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิติศาสตร์-
dc.date.accessioned2012-06-02T04:47:06Z-
dc.date.available2012-06-02T04:47:06Z-
dc.date.issued2553-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/19967-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (น.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553en
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงแนวคิด รูปแบบ หลักเกณฑ์และเงื่อนไขของมาตรการทางภาษีเงินได้เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการศึกษาของเอกชนในรูปแบบโรงเรียนตามบทบัญญัติของประมวลรัษฎากร ซึ่งเป็นการยกเว้นภาษีเงินได้ให้แก่ผู้ประกอบกิจการโรงเรียนเอกชนตามกฎหมายว่าด้วยโรงเรียนเอกชน แต่มาตรการภาษีเงินได้ดังกล่าวมีปัญหาเรื่องความเหมาะสมของวัตถุประสงค์ในนโยบายภาษีของรัฐและปัญหาเรื่องหลักความเสมอภาคทางภาษีอากร เพราะเป็นผลให้ผู้ประกอบกิจการโรงเรียนเอกชนนอกระบบ ประเภทกวดวิชาไม่มีภาระภาษีเงินได้เช่นเดียวกับโรงเรียนเอกชนในระบบ จากการศึกษาพบว่า มาตรการทางภาษีเงินได้เพื่อจูงใจภาคเอกชนให้เข้ามามีส่วนร่วมจัดการศึกษาด้วยการยกเว้นภาษีเงินได้ให้แก่ผู้ประกอบกิจการโรงเรียนเอกชนเป็นมาตรการทางภาษีที่มีใช้อยู่ในต่างประเทศ เช่น ประเทศสาธารณรัฐเกาหลี แต่เนื่องจากในประเทศไทยการประกอบกิจการโรงเรียนเอกชนนอกระบบ ประเภทกวดวิชากับการประกอบกิจการของโรงเรียนเอกชนในระบบมีจุดมุ่งหมายหรือวัตถุประสงค์ของการจัดการศึกษาที่ทับซ้อนกันแต่มีความแตกต่างกันในรายละเอียดของการจัดการศึกษา ทำให้การยกเว้นภาษีเงินได้ให้แก่ผู้ประกอบกิจการโรงเรียนเอกชนทั้งสองประเภทก่อให้เกิดความไม่เป็นธรรมทางภาษี และไม่สอดคล้องกับหลักความเสมอภาคทางภาษีอากร อีกทั้งส่งผลกระทบต่อระบบการศึกษาของประเทศและทำให้รัฐขาดรายได้จากธุรกิจกวดวิชาที่สร้างรายได้ที่ดีแก่ผู้ลงทุน นำไปสู่ความไม่เหมาะสมของนโยบายภาษีตามบทบัญญัติของประมวลรัษฎากร ดังนั้น ฝ่ายบริหารจึงควรพิจารณาแก้ไขปรับปรุงรูปแบบที่เหมาะสมในการใช้มาตรการทางภาษีเงินได้สำหรับการประกอบกิจการโรงเรียนเอกชนนอกระบบ ประเภทกวดวิชาด้วยการใช้นโยบายภาษีอากรเพื่อหารายได้มาใช้จ่ายด้านการศึกษา โดยการบังคับจัดเก็บภาษีจากผู้ประกอบกิจการดังกล่าว ซึ่งสามารถดำเนินการได้โดยการออกกฎกระทรวงและพระราชกฤษฎีกาขึ้นมาแก้ไขปรับปรุงบทบัญญัติเดิมที่บังคับใช้ในปัจจุบันen
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research is to study the concepts, formats, rules and conditions of income tax measures for promoting and supporting the management of private schools under the provision of the Revenue Code. There is an exemption of income tax for any of those who manage a private school as business. However, there are inappropriate objectives for the exemption of the income tax concerning the state tax policy and equality of taxation. This issue can lead all the tutorial schools to be exempted from such tax the same as the private school in the system. From the study, we have found that the tax measures, for which the private sector is encouraged to join and manage educational system by being exempted from income tax is effective in South Korea. On the contrary, in Thailand, there are issues in purposes of managing educational system which are interrelated but partially dissimilar between the tutorial schools and the private school in the system. Exemption of the income tax for both parties is therefore considered unfair and can lead to an inequality in taxation. In addition, the educational system in Thailand will be affected due to insufficiency of the State Revenue from those tutorial schools who have derived a lot of profit from the enterprise. Therefore, the government should consider improving the appropriate format of using tax measures with the tutorial schools which are exempted by collecting income tax from those entrepreneurs. This method can be fulfilled by legislating Ministerial Regulations and Royal Decrees to improve the current existing provisions of tax measures.en
dc.format.extent2495882 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2010.1861-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectโรงเรียนเอกชน -- ภาษีen
dc.subjectโรงเรียนกวดวิชา -- ภาษีen
dc.subjectพระราชบัญญัติโรงเรียนเอชน พ.ศ. 2550en
dc.titleมาตรการทางภาษีเงินได้เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการศึกษาของเอกชน : ศึกษากรณีโรงเรียนเอกชนนอกระบบ ประเภทกวดวิชาen
dc.title.alternativeIncome tax measures for promote and support private education : a case study of tutorial private schoolsen
dc.typeThesises
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineนิติศาสตร์es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorSupalak.P@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2010.1861-
Appears in Collections:Law - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
piya_tr.pdf2.44 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.