Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/20409
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเอมอัชฌา วัฒนบุรานนท์-
dc.contributor.advisorสมบูรณ์ อินทร์ถมยา-
dc.contributor.authorศกลวรรณ เปลี่ยนขำ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.date.accessioned2012-06-19T02:53:32Z-
dc.date.available2012-06-19T02:53:32Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/20409-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ด.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษารูปแบบการพัฒนาครูสำหรับกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา โดยใช้เทคนิคการวิจัยเชิงอนาคตแบบ EDFR (Ethnographic Delphi Futures Research) และเทคนิคการสนทนากลุ่ม (Focus Group) กลุ่มตัวอย่าง เป็นผู้เชี่ยวชาญที่มีความรู้ความสามารถและมีประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องทางด้านสุขศึกษา พลศึกษา การพัฒนาบุคลากรหรือการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ จำนวน 17 คน และผู้ร่วมสนทนากลุ่ม ที่เป็นครูกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา จำนวน 12 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่แบบสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้าง แบบสอบถาม และคู่มือสนทนากลุ่ม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่ามัธยฐาน ค่าฐานนิยม และค่าพิสัยระหว่างควอไทล์ ผลการวิจัย พบว่า รูปแบบการพัฒนาครูสำหรับกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษาเป็นรูปแบบเชิงข้อความมีองค์ประกอบหลัก 3 องค์ประกอบ ได้แก่ 1) ทิศทางการพัฒนา ประกอบด้วย แนวคิดที่เป็นจุดเน้นในการพัฒนา และจุดมุ่งหมายในการพัฒนา 2) กระบวนการพัฒนา ประกอบด้วย ข้อความรู้ที่ใช้ในการพัฒนา วิธีการที่ใช้ในการพัฒนาภายในและภายนอกสถานศึกษา กิจกรรมการเรียนรู้รายบุคคลและโดยกลุ่ม ขั้นตอนการดำเนินการพัฒนา สื่อที่ใช้ในการพัฒนา และหน่วยงานที่รับผิดชอบในการพัฒนา 3) การประเมินผลการพัฒนา ได้แก่ การประเมินและการติดตามผลการพัฒนาen
dc.description.abstractalternativeThe objective of this research was to study the teacher development model for health and physical education subject areas by using EDFR technique and focus group . The 17 experts were purposively selected from health education experts or physical education experts or human resource development experts, the semi – structured interview and constructed questionnaires were then used to gather data in the process of EDFR technique. Medians , modes and interquatile ranges were utilized for interpretation of the data. There were also 12 health and physical education teachers who participated in the focus group session for the purpose of model implementation.The research result was the semantic model of teacher development for health and physical education subject areas which consisted of 3 major components: 1) development direction which consisted of concepts and objectives 2) development process which consisted of knowledge, insited and outsited based development method, individual and group learning activitives, procedures, media, and concerned organizations 3) development assessment which consisted of assessment and follow - up.en
dc.format.extent1953914 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2007.993-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectครูen
dc.subjectสุขศึกษา -- การศึกษาและการสอนen
dc.subjectพลศึกษา -- การศึกษาและการสอนen
dc.titleการนำเสนอรูปแบบการพัฒนาครูสำหรับกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษาen
dc.title.alternativeA proposed teacher development model for health and physical education subject areasen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรดุษฎีบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาเอกes
dc.degree.disciplineพลศึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorAimutcha.W@chula.ac.th-
dc.email.advisorSomboon.I@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2007.993-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
sakolwan_p.pdf1.91 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.