Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/20834
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรักศานต์ วิวัฒน์สินอุดม-
dc.contributor.authorดนุวัฒน์ เจตนา-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิเทศศาสตร์-
dc.coverage.spatialไทย-
dc.date.accessioned2012-07-14T08:14:42Z-
dc.date.available2012-07-14T08:14:42Z-
dc.date.issued2553-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/20834-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1. เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีต่อการเปลี่ยนแปลงการถ่ายทำ ภาพยนตร์ในระบบฟิล์มเป็นระบบดิจิทัล 2. เพื่อศึกษาความเหมาะสมในการเลือกใช้ระบบใน กระบวนการสร้างภาพยนตร์จากระบบฟิล์มเป็นระบบดิจิทัล 3. เพื่อศึกษาถึงคุณสมบัติของบุคลากร ในการถ่ายทำภาพยนตร์ในระบบดิจิทัลต่อการเปลี่ยนแปลงในการถ่ายทำภาพยนตร์ในระบบฟิล์ม โดยดำเนินการวิจัยเชิงคุณภาพ วิเคราะห์บทความทางวิชาการของต่างประเทศที่เกี่ยวข้อง หนังสือ วิชาการต่างประเทศ และบทความทางอินเทอร์เน็ตที่เชื่อถือได้ เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม และ สัมภาษณ์เชิงลึก ได้แก่ ผู้มีส่วนหรืออำนาจตัดสินใจในการลงทุน และผู้ปฏิบัติงานเกี่ยวกับกล้องถ่าย ทำภาพยนตร์ จากบริษัทสร้างภาพยนตร์ในประเทศไทย ผลการวิจัยพบว่า เทคโนโลยีดิจิทัลมีส่วนสำคัญอย่างมากที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงต่อ อุตสาหกรรมภาพยนตร์ในภาพรวมทั้งหมดไม่ว่าจะเป็นขั้นตอนการถ่ายทำ (Pre Production) ขั้นตอน การถ่ายทำ (Production) ขั้นตอนหลังการถ่ายทำ (Post Production) และขั้นตอนการนำไปเผยแพร่ (Exhibition) นับได้ว่าเป็นการเปลี่ยนแปลงทั้งทางตรงและทางอ้อม ส่วนแนวโน้มและปัจจัยต่างๆ ที่ ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงการถ่ายทำภาพยนตร์ระบบฟิล์มเป็นระบบดิจิทัลนั้น คือ 1. เกิดจาก นวัตกรรมในยุคปัจจุบันที่ต้องการความสะดวกสบายและรวดเร็วในการทดแทนระบบเดิมที่ยังมีความ ล่าช้าอยู่ และมีคุณภาพที่ใกล้เคียงกับของเดิมมากที่สุด 2. เพื่อลดต้นทุนในกระบวนการสร้าง ภาพยนตร์ทั้ง 3P จนกระทั่งการนำไปเผยแพร่ 3. ลดกระบวนการบางอย่างที่ยุ่งยากและซับซ้อน เช่น การล้างฟิล์ม กระบวนการเปลี่ยนฟิล์มเข้าและออกจากแม็กกาซีน (Processing loading) การพิมพ์ฟิล์ม สำหรับฉาย ซึ่งต้องอาศัยบริษัทใหญ่ๆ ที่ต้องลงทุนค่อนข้างสูง 4. อุปกรณ์มีขนาดเล็กลง จึงใช้ บุคลากรน้อยลง 5. ทุกระบวนการสร้างภาพยนตร์เป็นสิ่งที่คนทั่วไปสามารถเข้าถึงได้มากขึ้น จึงทำ ให้คนรุ่นใหม่สามารถสร้างสรรค์ผลงานได้มากขึ้น 6. คุณภาพของข้อมูลภาพมีรายละเอียดสูง ใกล้เคียงกับฟิล์มมากขึ้น แต่ก็ขึ้นอยู่กับคุณภาพของกล้องแต่ละชนิดที่บันทึกและบีบอัดรายละเอียด แตกต่างกันไปในแต่ละชนิดของกล้อง และแนวโน้มในอนาคตระบบดิจิทัลก็อาจมาทดแทนฟิล์มทุก กระบวนการสร้างภาพยนตร์-
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research are 1. to study the factors affecting the transition from the traditional film cinematography to digital cinematography, 2. to study the appropriate choice between film and digital system, 3. to study the qualification of personnel to ensure a smooth transition from film to digital filmmaking in Thailand. This is a qualitative research, using reliable sources, such as international journals, publications and the internet. The data are collected from questionnaires and depth interview of above-the-line people who are decision makers and investors in film business down to below-the-line technicians who work in production companies in Thailand. The findings of the research are as follows. Digital technology plays a crucial role in rapidly changing the entire scenario of Thai film industry, ranging from pre-production, production to post-production stages. Such changes are bound to be both direct and indirect. The trend and factors affecting the transition from film to digital filmmaking are 1. the demand for convenience and efficiency of innovation in place of the old time-consuming system with similar quality, 2. the lower cost of film production and exhibition, 3. elimination of complex processes such as processing, loading, printing films that normally require investment by big companies, 4. smaller size of both equipment and crew, 5. accessibility by new generation of filmmakers and 6. high definition of visual quality similar to film, depending on the capacity of movie camera that can record and compress the data. Analysis of these factors indicates that in the near future digital cinema will surely replace film in every stage of production process.-
dc.format.extent3974827 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการถ่ายภาพยนตร์ -- ไทย-
dc.subjectฟิล์มภาพยนตร์-
dc.subjectการถ่ายภาพยนตร์แบบดิจิทัล -- ไทย-
dc.subjectการถ่ายภาพยนตร์ -- การแปรรูป-
dc.subjectCinematography -- Thailand-
dc.subjectMotion picture film-
dc.subjectDigital cinematography -- Thailand-
dc.subjectCinematography -- Processing-
dc.titleการวิเคราะห์แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงการถ่ายทำภาพยนตร์ระบบฟิล์มเป็นระบบดิจิทัลในประเทศไทยen
dc.title.alternativeAnalysis of the transitional trend from film cinematography to digital cinema in Thailanden
dc.typeThesises
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineการภาพยนตร์es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorRuksarn.V@chula.ac.th-
Appears in Collections:Comm - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
danuwat_je.pdf3.88 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.