Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/21088
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศรีไทย ศรีเวทย์บดี-
dc.contributor.advisorนงนิตย์ ศิริโภคากิจ-
dc.contributor.authorปัญญา สุขสมอรรถ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.coverage.spatialกรุงเทพมหานคร-
dc.date.accessioned2012-07-22T05:49:58Z-
dc.date.available2012-07-22T05:49:58Z-
dc.date.issued2525-
dc.identifier.isbn9745612405-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/21088-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2525en
dc.description.abstractอุตสาหกรรมน้ำมันพืชเป็นอุตสาหกรรมที่มีความสำคัญต่อระบบเศรษฐกิจของประเทศเป็นอย่างมาก ทั้งนี้เพราะใช้เมล็ดพืชน้ำมันที่สามารถผลิตได้เองภายในประเทศเป็นวัตถุดิบในการผลิตจึงช่วยให้ตลาดของเมล็ดพืชน้ำมัน ขยายตัวเพิ่มมากขึ้นเป็นการเพิ่มโอกาส และ รายได้ให้เกษตรกรและช่วยให้การเกษตรของประเทศได้มีการพัฒนาให้เจริญก้าวหน้ายิ่งขึ้นไปอีก การผลิตและการจำหน่ายน้ำมันพืชในประเทศไทยได้เริ่มมานานแล้ว โดยเฉพาะน้ำมันพืชเพื่อการบริโภค มีผู้นิยมหันมาบริโภคแทนน้ำมันหมูกันมาก จนทำให้เกิดการขาดแคลนขึ้นในบางขณะ ที่มีความรุนแรงมากที่สุดในปี 2517 จนรัฐบาลต้องประกาศควบคุมการส่งออก ประกอบกับในขณะนั้นผลผลิตของในตลาดโลกมีน้อยกว่าความต้องการบริโภค แต่ในระยะต่อมาผลผลิตภายในประเทศและในตลาดโลกมีเพิ่มมากขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งน้ำมันปาล์ม มีอัตราเพิ่มขึ้นอย่างสม่ำเสมอ จึงทำให้ราคาน้ำมันพืชในตลาดโลกลดต่ำลง และส่งผลกระทบเข้ามาภายในประเทศเพราะรัฐบาลไม่มีมาตรการในการควบคุมการนำเข้าจึงทำให้มีผู้นำน้ำมันปาล์มราคาถูกจากต่างประเทศเข้ามาเป็นจำนวนมาก ในช่วง 2-3 ปีที่ผ่านมา เป็นผลให้อุตสาหกรรมการผลิตและการจำหน่ายน้ำมันพืชภายในประเทศต้องประสบกับปัญหาอย่างหนักที่สุดเป็นประวัติการณ์ จนรัฐบาลต้องกำหนดมาตรการควบคุมการนำเข้าน้ำมันปาล์ม และอนุญาตให้ทำการส่งออกน้ำมันพืชได้โดยเสรีเพื่อคลี่คลายปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้น การศึกษาวิจัยวิทยานิพนธ์ฉบับนี้เป็นการศึกษาถึงข้อเท็จจริงเกี่ยวกับการผลิตและการตลาดของอุตสาหกรรมน้ำมันพืช ตลอดจนการออกแบบสอบถามความคิดเห็นผู้บริโภคโดยทั่วๆ ไปในเขตกรุงเทพมหานคร เพื่อนำมาวิเคราะห์และตอบสมมติฐานที่ตั้งไว้ การเก็บรวบรวมข้อมูลขั้นพื้นฐานจะเก็บกับหน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้อง รายงานการวิจัยน้ำมันพืชที่ทำไว้แล้วและการสัมภาษณ์ผู้ที่เกี่ยวข้องในแต่ละด้าน จากการศึกษาและสำรวจทำให้ทราบว่าในปัจจุบันมีผู้นิยมบริโภคน้ำมันพืชกันมากและในอนาคตมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น สาเหตุเนื่องมาจากประชาชนมีความเป็นอยู่และการศึกษาดีขึ้น การดำเนินชีวิตเป็นไปอย่างเร่งรีบ ชอบความสะดวกสบายมากขึ้น ประกอบกับจำนวนประชากรที่เพิ่มขึ้นทุกปี มีโรงงานผลิตขนาดใหญ่เกิดขึ้นหลายราย จากการส่งเสริมการลงทุนของรัฐบาลทำให้สามารถลงทุนซื้อเครื่องจักร ที่มีกรรมวิธีการผลิตที่ได้มาตรฐานสากลมาทำการผลิตทำให้ได้น้ำมันพืชที่มีคุณภาพมากขึ้น ตลอดจนมีการนำเอาวิธีการด้านตลาดสมัยใหม่มาใช้จนทำให้สามารถชักจูงผู้บริโภคให้มาบริโภคน้ำมันพืชกันมากขึ้น-
dc.description.abstractalternativeVegetable Oil Industry is the vein factor effect of the economics system of the country because of the uses of vegetable oil seeds grown in the country as raw materials. This helps in expaning the market of vegetable oil seeds which affects grower income and more progress in development of the country. In Thailand, the productions and distributions of vegetable oil have been started. for quite a long time ago, especially, for consumptions, most people prefer to consume vegetable oil to lard which has led to temporary vegetable oil shortage in the market and wrost circumstances was in 1974. The government had to control exportation, and at the same time the production of vegetable oil in the world market was lower than demand for consumtion, but the outputs in the world and domestic market had been increased later. The prices of vegetable oil in the world market had then declined, resulting from regularly increase rate of palm oil which affected the domestic market. The government had no effective import controls, there were lots of cheaper palm oil imported from foreign Countries during the past 2-3 years, which caused the most serious problems in productions and distributions of domestic vegetable oil industries. In order to solve many problems, the government had to put the regulations for palm oil and allowed a exportation of vegetable oil. This research studies the facts concerning productions and marketing of vegetable oil industries, using the information praided by the consumers; asking them questions and their ideas, in Bangkok area in order to analyse and answer the assumption'. The collections of the basic data came from the related government sections, the reports on vegetable oil researchs and the interview of concerning people in each sector. On account of study and research, at present, the vegetable oil is popular among consumers and tend to become more popular in the future, resulting from the higher standard of living and better education of population. To speed up of living more convinience and comfortable, every year increasing of population, There many large factories which take the investment promotion from government to purchase more efficience machineries in order to produce a higher qualoty of vegetable oil. The modern methods of marketing management are used in the processes which can trend the consumers to consume m more vegetable oil.-
dc.format.extent638769 bytes-
dc.format.extent577916 bytes-
dc.format.extent2195200 bytes-
dc.format.extent1456467 bytes-
dc.format.extent2711655 bytes-
dc.format.extent542455 bytes-
dc.format.extent917927 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectน้ำมันพืช -- การตลาดen
dc.titleความคิดเห็นของผู้บริโภคน้ำมันพืชในเขตกรุงเทพมหานครen
dc.title.alternativeOpinion of vegetable oil consumers in Bangkok Metropolitan areaen
dc.typeThesises
dc.degree.nameพาณิชยศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineการตลาดes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorไมีมีข้อมูล-
dc.email.advisorไมีมีข้อมูล-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Panya_Su_front.pdf623.8 kBAdobe PDFView/Open
Panya_Su_ch1.pdf564.37 kBAdobe PDFView/Open
Panya_Su_ch2.pdf2.14 MBAdobe PDFView/Open
Panya_Su_ch3.pdf1.42 MBAdobe PDFView/Open
Panya_Su_ch4.pdf2.65 MBAdobe PDFView/Open
Panya_Su_ch5.pdf529.74 kBAdobe PDFView/Open
Panya_Su_back.pdf896.41 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.