Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/21216
Title: | Die schaffung der deutschen komodie durch Lessing |
Other Titles: | การสร้างสรรค์บทละครตลกของเลสซิง |
Authors: | Pilandh Chantimabha |
Advisors: | Munder, Peter |
Other author: | Chulalongkorn University. Graduate School |
Advisor's Email: | No information provided |
Issue Date: | 1979 |
Publisher: | Chulalongkorn University |
Abstract: | Die Komädie in Deutschland hat eine ziemlich lange Tradition. Man stiitzt sich immer wieder in der europäischen Komödie auf verschiedene Arten von Nachah¬mungen Z.B. von Inhalt, Stoff, Motiv usw. Im 17.und 18. Jahrhundert waren es die Franzosen und die Italiener, die eine führende Rolle in der Geschichte der Komödie spielten. Die echte deutsche Komödie entstand erst ungefähr in der Mitte des 18. Jahrhunderts. Das war die Zeit zahlreicher Umwälzungen in der europdischen Geschichte. Diese Arbeit besteht aus 5 Teilen. Der erste Teil behandelt die allgemein bekannte Komödientheorie. Die wichtigsten Merkmale werden hier dargestellt. Der zweite Tell behandelt die Geschichte der Komödie in Europa. Die Arbeit beginnt mit dem Einfluß der Griechen und der Römer und schließt mit dem Einfluß der Franzosen. Der Einfluß der französischen Komödie auf die deutsche Bühne wird be¬handelt und darn parallel it Gottscheds Komödientheorie erörtert. Der dritte Teil behandelt Lessing selbst; sein Komödienvorständnis, seine Auseinandersetzung mit Gottscheds Theorie und seine Leistung für die deutsche Literatur. Es folgt im vierten Teil die Interpretation von Lessings drei Jugendlustspielen: "Der junge Gelohrte", "Der Hisogyn" und "Die alto Jungfer". Ich untersuche in diesem Teil ihre Ahn¬lichkeiten und Unterschiede. Im fünften Teil wird Lessings berühmtestes Lustspiel "Minna von Barnhelm" analysiert. Gezeigt wird in diesem Teil, wie Lessings Stuck entstand. Seine Literaturkenntnisse, die damalige Situation der Gesellschaft, seine Zeitgenossen und letzlich sein eigenes Genie, all dies wurde zusammengetragen und daraus entstand als Endrosultat seine "Minna von Barnhelm". Anhand der Texte werden verschiedene Stellen erklärt und untorsucht, wie ihre komische Arkung erzielt wird, warum bestimmte Stellen lustig für den Zuschauer oder den Leser sind. Für die jenigen, die sich der vorgleichenden Literaturwissenschaft, besonders der europäischen Literatur, beschäftigen, werden sich sicher einige Hinweise in meiner Arbeit finden, die sie auch selbst verwerten können. Mit dieser Grundkenntnis werden sie sicher tiefer und gründ¬licher lihre eigenen Untersuchungen durchführen können. |
Other Abstract: | งานด้านละครตลกในเยอรมนี มีประวัติความเป็นมาค่อนข้างจะยาวนานพอสมควรละครตลกในยุโรปสมัยก่อนนั้น มีการลอกเลียนแบบกัน ทั้งในด้านแนวการเขียน การวางโครงเรื่อง เนื้อหาและตัวตลกอยู่เสมอๆ ชาติที่มีอิทธิพลและมีความเป็นผู้นำอยู่มากในด้านนี้ ในระยะช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 17-18 ได้แก่ฝรั่งเศส และอิตาลี และช่วงที่จะนับได้ว่าเยอรมันมีเอกลักษณ์ของตนเองจริงๆ ในด้านละครตลกตกอยู่ในราวประมาณกลางคริสต์ศตวรรษที่ 18 ซึ่งในประวัติศาสตร์ยุโรปช่วงนั้น ก็ได้มีการเปลี่ยนแปลงหลายประการ งานวิทยานิพนธ์ชิ้นนี้ แบ่งออกเป็นบทใหญ่ๆ ที่สำคัญ 5 บท ในบทแรก เป็นการกล่าวนำถึงผลงานวิจัยและค้นคว้าในเรื่องที่เกี่ยวข้องกับละครตลก ซึ่งมีมาจนถึงสมัยปัจจุบันสรุปสาระสำคัญๆ ที่เป็นต้นเหตุของละครตลก เพื่อให้เป็นแนวทางสำหรับผู้ที่สนใจจะได้ศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมอย่างละเอียดต่อไป ในบทที่สอง กล่าวถึงแหล่งกำเนิดและสาเหตุของละครตลกในยุโรป วิวัฒนาการของละครชนิดนี้ในสมัยต่อๆ มา รวมทั้งนามของนักประพันธ์ที่มีชื่อแสดงให้เห็นถึงการที่มีการนำเอาผลงานมาดัดแปลงแก้ไข จนกระทั่งถึงสมัยที่ฝรั่งเศสกลายเป็นผู้นำละครทางด้านละครตลก ชี้ให้เห็นแนวความคิดแบบฝรั่งเศสที่ได้ตกทอดมาถึงเยอรมันจนกระทั่งถึงสมัยของ “กอทเช็ด” (Gottsched) และศึกษาว่าเขาได้วางทฤษฏีเกี่ยวกับละครตลก เอาไว้อย่างไรบ้าง ในบทที่สาม จะกล่าวถึงแนวความคิดของเลสซิง ในเรื่องทฤษฎีเกี่ยวกับละครตลก ความคิดเห็นคัดแย้งที่เขามีต่อทฤษฎีเก่าๆ ชี้ให้เห็นแนวความคิดสร้างสรรค์ใหม่ๆ ของเขา ซึ่งถือได้ว่าเป็นเอกลักษณ์ของเยอรมันที่แท้จริง และในบทที่สี่ จะเปรียบเทียบแสดงถึงผลงานของเลสซิงในละครตลก 4 เรื่อง โดยเริ่มจาก “Der junge Gelehrte” ซึ่งเป็นผลงานชิ้นแรกของเขา และอิทธิพลของแนวความคิดเก่าๆ ยังปรากฏให้เห็นอยู่อีกมากและในผลงานอีกสองชิ้นต่อมา คือ “Der Misogyn” และ “Die alte Jungfer” จะชี้ให้เห็นว่ามีการเปลี่ยนแปลงสิ่งใดบ้างที่นับว่าเป็นการเริ่มต้นที่ใหม่ๆ สำหรับเยอรมันและในงานชิ้นสุดท้าย ซึ่งเป็นชิ้นเอกของเขาในด้านละครตลกคือ “Minna von Barnhelm” โดยจะเน้นให้เห็นว่าความสัมพันธ์ระหว่างผู้ประพันธ์กับเหตุการณ์ที่เขาประสบมาจริงๆ และแนวความคิดแบบใหม่ๆ ของเขา จะมาผสมผสานกันเข้าได้อย่างไร จึงเกิดเป็นผลงานเรื่องนี้ขึ้น ซึ่งถือได้ว่า เป็นการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่เกี่ยวกับการวางทฤษฎี และแนวทางปฏิบัติในการเขียนละครตลกของเยอรมันและยึดถือมาจนถึงปัจจุบันนี้ ผลงานนี้จะเป็นประโยชน์อย่างมาก สำหรับผู้ที่จะศึกษาทางด้านวรรณคดีเปรียบเทียบ เพราะจะได้เรียนรู้ถึงความคล้ายคลึงและความแตกต่างของทฤษฎีด้านละครตลกในยุโรป โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ผู้ที่จะศึกษาค้นคว้าเฉพาะวรรณคดีเยอรมัน เพื่อที่จะได้สามารถวิเคราะห์และตีตามความหมายงานเขียนต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับผลงานที่ต้องการจะศึกษาได้อย่างละเอียดและลึกซึ่งยิ่งขึ้น |
Description: | Thesis (M.A.)--Chulalongkorn University, 1979 |
Degree Name: | Master of Arts |
Degree Level: | Master's Degree |
Degree Discipline: | German |
URI: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/21216 |
Type: | Thesis |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Pilandh_Ch_front.pdf | 487.14 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Pilandh_Ch_ch1.pdf | 462.99 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Pilandh_Ch_ch2.pdf | 466.76 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Pilandh_Ch_ch3.pdf | 564 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Pilandh_Ch_ch4.pdf | 694.53 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Pilandh_Ch_ch5.pdf | 802.7 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Pilandh_Ch_ch6.pdf | 239.62 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Pilandh_Ch_back.pdf | 309.61 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.