Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/21618
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorประนอม โอทกานนท์-
dc.contributor.advisorประนอม รอดคำดี-
dc.contributor.authorศรีสอางค์ คล้ายโกศล-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2012-08-20T09:11:36Z-
dc.date.available2012-08-20T09:11:36Z-
dc.date.issued2527-
dc.identifier.isbn9745634026-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/21618-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2527en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงทดลองมีจุดมุ่งหมายเพื่อเปรียบเทียบความรู้และความสามารถในการดูแลเด็กป่วยระหว่างผู้ปกครองที่ได้รับการเตรียมตามปกติกับผู้ปกครองที่ได้รับการเตรียมตามโปรแกรม ตัวอย่างประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้คือ ผู้ปกครองเด็กป่วยที่มารับการบริการจากโรงพยาบาลเด็กและโรงพยาบาลรามาธิบดี โดยเลือกศึกษาผู้ปกครองของเด็กป่วยที่มีอายุ 1-3 ปี เข้าพักรักษาตัวในโรงพยาบาลเป็นครั้งแรก มีกำหนดนัดล่วงหน้าในการเข้าอยู่โรงพยาบาลเป็นเวลา 2-7 วัน และเป็นผู้ปกครองเด็กป่วยที่ไม่เคยมีบุตรคนใดเข้าพักรักษาตัวในโรงพยาบาล สามารถมาเยี่ยมเด็กป่วยได้ตามเวลาเยี่ยมไม่ได้อยู่เฝ้าเด็กป่วยตลอดเวลา สามารถอ่านหนังสือและใช้ภาษาไทยในการสื่อความหมายเป็นอย่างดี จำนวน 40 คน ทำการจับคู่ตัวอย่างโดยยึดตัวแปรด้านเพศ อายุ โรค ของเด็กป่วย และเพศ อายุ การศึกษา ของผู้ปกครองเด็กป่วย กำหนดตัวอย่างให้มีลักษณะเหมือนกันเป็นคู่ๆ แล้วสุ่มแยกเป็นผู้ปกครองที่ได้รับการเตรียมตามโปรแกรมซึ่งถือเป็นกลุ่มทดลอง จำนวน 20 คน ผู้วิจัยได้สร้างเครื่องมือในการทดลองและการรวบรวมข้อมูลด้วยตนเอง คือโปรแกรมการเตรียมผู้ปกครองเด็กป่วยก่อนเข้าอยู่โรงพยาบาล และแบบทดสอบความรู้และแบบสังเกตความสามารถในการดูแลเด็กป่วย ตรวจสอบความตรงตามเนื้อหา และได้นำไปลองใช้กับผู้ปกครองเด็กป่วยที่มีลักษณะคล้ายกลุ่มตัวอย่างประชากร หาความเที่ยงของแบบทดสอบได้เท่ากับ .811 และความเที่ยงของแบบสังเกตได้เท่ากับ .979 วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าร้อยละ ค่าคะแนนเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบความแตกต่างค่าเฉลี่ยโดยทอสอบค่าที (t-test) ผลของการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. ความรู้เกี่ยวกับการเข้าอยู่โรงพยาบาลของเด็กป่วยของผู้ปกครองที่ได้รับการเตรียมตามโปรแกรมดีกว่าผู้ปกครองที่ได้รับการเตรียมตามปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ซึ่งสนองสมมติฐานการวิจัย 2.ความสามารถในการช่วยเหลือดูแลเด็กป่วยขณะพักรักษาตัวอยู่ในโรงพยาบาลของผู้ปกครองที่ได้รับการเตรียมตามโปรแกรมดีกว่าผู้ปกครองที่ได้รับการเตรียมตามปกติ อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .01 ซึ่งสนองสมมติฐานการวิจัย-
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this experimental study were to compare the knowledge and ability in providing care to hospitalized child between parents prepared by routine and prepared by planned program. The subjects were 40 parents of hospitalized children in Children Hospital and Ramathibodi Hospital. The subjects have to be parent of 1-3 years old child on the first admission by schedule 2-7 days before admission and never have any child to be admitted before. They must have enough time to visit their children during the visited hour but not stay with their children all the time and also communicate in Thai. Subjects were matched by pair under variables of the age, sex and similar diagnosis of children, and the age, sex and education of the parents. Subjects were separated to a control and experimental group with 20 subjects of each by simple random assignment. The subjects in control group were prepared by routine hospital practice and the experimental group were prepared by planned program. The research instruments were the program for preadmission preparation, the knowledge test and performance recording from which developed by the researcher. The content validity of instruments were proved by the experts and had been tried out with the parents of the sick child which similar to the samples. The reliability of the knowledge test and performance recording form were 0.811 and 0.979 respectively. Statistical procedures used were percentage, arithmetic mean, standard deviation and matched pair t-test. The results of this study were 1. The knowledge score concerning care provided to hospitalized child of the parents prepared by planned program were higher than the parents prepared by routine with statistically significant difference at the .01 level. 2. The performance score in providing care for hospitalized child of the parents prepared by planned program were higher than the parents prepared by routine with statistically significant difference at the .01 level.-
dc.format.extent512061 bytes-
dc.format.extent480340 bytes-
dc.format.extent2290960 bytes-
dc.format.extent575437 bytes-
dc.format.extent305660 bytes-
dc.format.extent592883 bytes-
dc.format.extent1393269 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectผู้ป่วยเด็ก -- การดูแล-
dc.subjectผู้ดูแล-
dc.titleการเปรียบเทียบความรู้และความสามารถในการดูแลเด็กป่วย ระหว่างผู้ปกครองที่ได้รับการเตรียมตามปกติกับผู้ปกครอง ที่ได้รับการเตรียมตามโปรแกรมen
dc.title.alternativeA comparison of knowledge and ability in providing care to hospitalized child between parents prepared by routine and planned programen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineพยาบาลศึกษา-
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Srisa-ang_Kl_front.pdf500.06 kBAdobe PDFView/Open
Srisa-ang_Kl_ch1.pdf469.08 kBAdobe PDFView/Open
Srisa-ang_Kl_ch2.pdf2.24 MBAdobe PDFView/Open
Srisa-ang_Kl_ch3.pdf561.95 kBAdobe PDFView/Open
Srisa-ang_Kl_ch4.pdf298.5 kBAdobe PDFView/Open
Srisa-ang_Kl_ch5.pdf578.99 kBAdobe PDFView/Open
Srisa-ang_Kl_back.pdf1.36 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.