Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/21841
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | มิลินทร์ สำเภาเงิน | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | - |
dc.date.accessioned | 2012-08-28T07:28:58Z | - |
dc.date.available | 2012-08-28T07:28:58Z | - |
dc.date.issued | 2518 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/21841 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2518 | en |
dc.description.abstract | การวิจัยเรื่องนี้มีความมุ่งหมายเพื่อทดลองตรรกศาสตร์สัญลักษณ์บางเรื่องไปสอนในชั้นประถมศึกษาปีที่เจ็ด เปรียบเทียบสมรรถภาพในสมอง และผลสัมฤทธิ์วิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนที่เรียนตรรกศาสตร์สัญลักษณ์กับนักเรียนที่ไม่ได้เรียน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้เป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่เจ็ด โรงเรียนวัดหงส์รัตนาราม จำนวน 84 คน เป็นนักเรียนชาย 42 คน นักเรียนหญิง 42 คน แบ่งเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม โดยมีสมมุติฐานของการวิจัยดังนี้ 1. นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่เจ็ดสามารถเรียนตรรกศาสตร์สัญลักษณ์ได้ 2. นักเรียนที่เรียนตรรกศาสตร์สัญลักษณ์มีสมรรถภาพทางสมองสูงกว่านักเรียนที่ไม่ได้เรียน 3. นักเรียนที่เรียนตรรกศาสตร์สัญลักษณ์ มีผลสัมฤทธิ์วิชาคณิตศาสตร์สูงกว่านักเรียนที่ไม่ได้เรียน ก่อนทำการทดลองผู้วิจัยทดสอบครั้งแรกกับกลุ่มตัวอย่างทั้งสองกลุ่ม ด้วยแบบสอบสมรรถภาพทางสมองของจิรพันธ์ และแบบสอบผลสัมฤทธิ์วิชาคณิตศาสตร์ ต่อจากนั้น ผู้วิจัยสอนเรื่องคณิตศาสตร์ตามหลักสูตรกระทรวงศึกษาธิการ วันละ 1 ชั่วโมง เป็นเวลา 8 สัปดาห์ รวม 40 ชั่วโมง และนำตรรกศาสตร์สัญลักษณ์เรื่อง ระบบคณิตศาสตร์ความหมายจริงหรือเท็จ ประพจน์ คำเชื่อมประพจน์ได้แก่ ไม่ และ หรือ, ถ้า, แล้ว ก็ต่อเมื่อ, การใช้สัญลักษณ์แทนประพจน์และตัวเชื่อมประโยคเปิดและคำขยายอนุมาน เวนไดอาแกรม ไปแทรกสอนกับกลุ่มทอลองในวันจันทร์ และวันพุธวันละ 1 ชั่วโมง รวม 16 ชั่วโมง อีก 24 ชั่วโมง เรียนเรื่องคณิตศาสตร์เหมือนกลุ่มควบคุมในวันอังคาร พฤหัส และศุกร์ วันละ 1 ชั่วโมง หลังจากนั้นได้ทดสอบครั้งหลังโดยใช้แบบสอบ 3 ฉบับ คือ แบบสอบตรรกศาสตร์สัญลักษณ์ แบบสอบสมรรถภาพและครั้งหลังวิเคราะห์ความแปรปรวนร่วม 2x2 แฟตเตอร์เรียล ปรากฏผลดังนี้ 1. นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่เจ็ดสามารถเรียนตรรกศาสตร์สัญลักษณ์ได้ 2. นักเรียนที่เรียนตรรกศาสตร์สัญลักษณ์ มีสมรรถภาพทางสมองสูงกว่านักเรียนที่ไม่ได้เรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 3. นักเรียนที่เรียนตรรกศาสตร์สัญลักษณ์มีผลสัมฤทธิ์วิชาคณิตศาสตร์ไม่แตกต่างจากนักเรียนที่ไม่ได้เรียนในระดับความมีนัยสำคัญทางสถิติ 4. นักเรียนมีสมรรถภาพทางสมอง และผลสัมฤทธิ์วิชาคณิตศาสตร์ไม่แตกต่างจากนักเรียนหญิงในระดับความมีนัยสำคัญทางสถิติ | - |
dc.description.abstractalternative | The purpose of this study is to compare mental ability and mathematical achievement between the symbolic logic learning student and non learning one when some topics of symbolic logic is taught at the Prathom Suksa Seven. The researcher took sample of eighty four Prathom Suksa Seven students (forty two boys and forty two girls) from Wathong-rattanaram School, The sample was devided into experimental and control groups with following hypothesis 1. Prathom Suksa Seven students could learn the symbolic logic. 2. The students who learned the symbolic logic had higher mental ability than non learned students. 3. The students who learned the symbolic logic had higher mathematical achievement than non learned students. Before the experiment, Jirapan’s mental ability and mathematical. achievement tests were given to both experimental and control groups. The researcher, then taught mathematics according to Minis¬try of Education Curriculum one hour each day for eight weeks (40 hours) to the control group. However, he taught the same subject for twenty four hours; and forther rest of sixteen hours symbolic logic such as the meaning of true and false, propositions, connections . (not, and, or, if...then...,and...if and only if...) open sentences and qualifiers, deduction and Venn Diagram was taught to the experi¬mental group. When the teaching was completed, the researcher gave three types of tests I the symbolic logic test, Jirapan's mental ability test and mathematical achievement test to both experimental and control groups. The outcome of this test was compared against the previous one to analyze the deviation by method of two by two factorial analysis of covarience. The findings are as follows: 1. The Prathom Suksa Seven students could learn the symbolic logic. 2. The students who learned the symbolic logic had higher mental ability than the non learned students at the 0.01 level of significance. 3. There was no significant difference in mathematical achievement between the experimental and control groups. 4. There was no significant difference in mental ability and mathematical achievement between boys and girls. | - |
dc.format.extent | 500463 bytes | - |
dc.format.extent | 669722 bytes | - |
dc.format.extent | 702981 bytes | - |
dc.format.extent | 441658 bytes | - |
dc.format.extent | 553516 bytes | - |
dc.format.extent | 445823 bytes | - |
dc.format.extent | 2361240 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | คณิตศาสตร์ -- การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา) | - |
dc.subject | สัญลักษณ์ตรรกศาสตร์และคณิตตรรกศาสตร์ | - |
dc.subject | ตรรกวิทยา -- การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา) | - |
dc.subject | Mathematics -- Study and teaching (Elementary) | - |
dc.subject | Logic, Symbolic and mathematical | - |
dc.subject | Logic -- Study and teaching (Elementary) | - |
dc.title | การทดลองแทรกตรรกศาสตร์สัญลักษณ์ในการสอนคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่เจ็ด | en |
dc.title.alternative | An experimental integration of symbolic logic in teaching mathematics at prathom suksa seven | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | ครุศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | วิจัยการศึกษา | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
milin_so_front.pdf | 488.73 kB | Adobe PDF | View/Open | |
milin_so_ch1.pdf | 654.03 kB | Adobe PDF | View/Open | |
milin_so_ch2.pdf | 686.5 kB | Adobe PDF | View/Open | |
milin_so_ch3.pdf | 431.31 kB | Adobe PDF | View/Open | |
milin_so_ch4.pdf | 540.54 kB | Adobe PDF | View/Open | |
milin_so_ch5.pdf | 435.37 kB | Adobe PDF | View/Open | |
milin_so_back.pdf | 2.31 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.