Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/21865
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสิริมนพร สุริยะวงศ์ไพศาล-
dc.contributor.advisorตรีศิลป์ บุญขจร-
dc.contributor.authorวินัย จามรสุริยา-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะอักษรศาสตร์-
dc.date.accessioned2012-08-29T07:14:06Z-
dc.date.available2012-08-29T07:14:06Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/21865-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (อ.ด.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554en
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์ฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการสร้างตัวละครเอกหญิงร้างรักในบทละครโนของเสะอะมิ 8 เรื่องได้แก่ อะโอะอิโนะอุเอะ อิสุท์ซุ อุเนะเมะ คินุตะ มะท์ซุกะเสะ ฮะนะงะตะมิ ฮันโจะ และ มินะสุกิบะระเอะ โดยพิจารณาจากทฤษฎี ซันโด และศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการสร้างตัวละครเอกหญิงกับบริบททางสังคมและวัฒนธรรมในช่วงสมัยของเสะอะมิ ตลอดจนศึกษาเรื่องอำนาจและการต่อรองของตัวละครเอกหญิงกับชาย คนรักในบทละครโนเรื่องที่ศึกษา จากการศึกษาพบว่าการสร้างตัวละครเอกหญิงในบทละครโนทั้ง 8 เรื่อง ส่วนมากสอดคล้องกับทฤษฎี ซันโด กล่าวคือ ตัวละครเอกของทุกเรื่องมีความสามารถด้านการขับร้องและร่ายรำ ทุกเรื่องมีการอ้างอิงบทกวีเลื่องชื่อ แต่ลำดับการแสดงของตัวละคร 4 ใน 8 เรื่องไม่สอดคล้องกับหลักโจะ ฮะ คีว และการศึกษานี้แสดงให้เห็นภาพของตัวละครเอกหญิง ได้แก่ภาพหญิงซื่อสัตย์ หญิงเฝ้ารอ หญิงจิตใจสูงส่ง และหญิงกล้าหาญ ซึ่งทุกภาพมีความสัมพันธ์กับความคาดหวังของผู้ชาย นอกจากนี้การศึกษายังสะท้อนให้เห็นทัศนคติของเสะอะมิต่อหญิงร้างรักว่าเขาให้ความสำคัญกับชะตากรรมของหญิงเหล่านี้ ตัวละครเอกหญิงต่อรองอำนาจของผู้ชายด้วยรูปแบบต่างๆ ได้แก่การบรรยายความรู้สึกต่อการพลัดพราก การออกเดินทางตามหาชายคนรัก และการบรรลุธรรมen
dc.description.abstractalternativeThis dissertation aims at studying the characterization of lovelorn heroines in Zeami’s 8 Noh plays: Aoi no ue, Izutsu, Uneme, Kinuta, Matsukaze, Hanagatami, Hanjo and Minazuki barae, by analyzing it according to Zeami’s treatise titled Sandou. The dissertation also studies the relations between heroine characterization and the socio-cultural context in the age of Zeami, as well as the issues of power and the heroine’s negotiation with her lover in the 8 Noh plays. The research finds that heroine characterization in most of these Noh plays conforms to the theory in Sandou. That is to say, all the heroines have competence in singing and dancing. All the plays quote some famous verses but the performance order in 4 of the 8 plays does not conform to the jo ha kyuu structure. The research shows images of the heroines: faithful women, waiting women, tender-hearted women, and brave women all of which are related to men’s expectations. Additionally, the research analyses Zeami’s attitude towards lovelorn women which shows his concern for these women’s tragedy. The heroines negotiate with men’s power in several ways: expressing their feelings after separation, traveling to seek their lover, and being released from earthly desires.en
dc.format.extent9664221 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2011.506-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectตัวละครและลักษณะนิสัยen
dc.subjectละครกับสังคมen
dc.subjectละคร -- ญี่ปุ่นen
dc.titleหญิงร้างรักในบทละครโนของเสะอะมิen
dc.title.alternativeLovelorn women in Zeami’s Noh playsen
dc.typeThesises
dc.degree.nameอักษรศาสตรดุษฎีบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาเอกes
dc.degree.disciplineวรรณคดีและวรรณคดีเปรียบเทียบes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
dc.email.advisorTrisilpa.B@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2011.506-
Appears in Collections:Arts - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
winai_ja.pdf9.48 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.