Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/21880
Title: Prevalence, determinants and microvascular complications of type 2 diabetes mellitus among elderly population of Kathmandu, Nepal
Other Titles: ความชุก ปัจจัยกำหนด และอาการแทรกซ้อนของเส้นเลือดขนาดเล็กในผู้ป่วยสูงอายุโรคเบาหวานประเภท 2 เมืองกาฐมาณฑุ ประเทศเนปาล
Authors: Rimal, Abhishek
Advisors: Panza, Alessio
Other author: Chulalongkorn University. College of Public Health Science
Advisor's Email: alessio3108@hotmail.com
Subjects: Older people -- Nepal
Diabetics -- Complications
Diabetics -- Nepal
Issue Date: 2011
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: Background: Diabetes Mellitus (DM) has caused global pandemic which principally involves Type 2 DM. DM can cause several complications including microvascular complications that impose a tremendous burden on the individual and on the health care system. There is little known about prevalence of Type 2 DM and its complications among elderly. The main purpose of this study was- To determine the prevalence of Type 2 DM and its microvascular complications and to identify factors associated with them among elderly population of Kathmandu, Nepal. Methods: Cross sectional study was conducted among 306 participants above age 60 from urban and rural areas of Kathmandu district. Firstly home visits were conducted, where structured questionnaire was used to collect information from the participants. Anthropometric measurements, blood pressure and fasting blood glucose test was done using standard medical tools. Those who were identified as diabetic during home visits were invited to a health camp later, where detailed physical examination, was done for detecting microvascular complications. Data Analysis was done using binary logistic regression with statistical significance of each analysis against the p value of 0.05. Results: Prevalence of Type 2 DM in this study was 23.5% which is similar to the findings of previous studies in Kathmandu. Among all cases of Type 2 DM 26.3% were the new cases diagnosed during survey and 43.1% have one or more of the microvascular complications. Inadequate Physical activity, Unhealthy Diet, Frequent visit to Fast food centers, Family history of Type 2 DM, Presence of Hypertension and History of Gestational Diabetes Mellitus were significantly positively associated with presence of Type 2 DM. Likewise, Above Normal waist circumference and DM Duration were significantly positively associated with microvascular complications of Type 2 DM. Whereas, Healthy Diet was negatively associated with microvascular complications. Conclusions: Prevalence of Type 2 DM and its microvascular complication is high in Kathmandu, along with undetected cases of Type 2 DM. The burden of DM and its microvascular complications calls the attention of the policy makers to devise some strategy to increase access to health care facilities. Health education and cost effective preventive interventions must be promoted to prevent the rising trend of Type 2 DM.
Other Abstract: ความชุก ปัจจัยกำหนด และอาการแทรกซ้อนของเส้นเลือดขนาดเล็กในผู้ป่วยสูงอายุโรคเบาหวานประเภท ๒ เมืองกาฐมาณฑุ ประเทศเนปาล (PREVALENCE, DETERMINANTS AND MICROVASCULAR COMPLICATIONS OF TYPE 2 DIABETES MELLITUS AMONG ELDERLY POPULATION OF KATHMANDU, NEPAL) อ.ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หลัก: Alessio Panza, M,D., M.Com.H., DTM & H, 111 หน้า. ความเป็นมา: โรคเบาหวาน (DM) เป็นโรคเรื้อรังที่มีอัตราอุบัติการณ์เพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ และเป็นปัญหาทางด้านสาธารณสุขทั่วโลก โดยเฉพาะโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ซึ่งทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อนหลายประเภทโดยเฉพาะอย่างยิ่งภาวะแทรกซ้อน โรคหลอดเลือดหัวใจ โดย มีผลกระทบต่อผู้ป่วย และระบบการดูแลรักษาโรคนั้น ถึงแม้ว่ามีรายงานอัตราความชุกของการเกิดโรคเบาหวานชนิดที่ 2 และภาวะแทรกซ้อนด้วยโรคหลอดเลือดหัวใจในผู้สูงอายุจำนวนน้อยนั้น ผู้วิจัยมีความสนใจที่จะศึกษาในเรื่องนี้ โดยมีวัตถุประสงค์หลักของการศึกษาคือ เพื่อศึกษาอัตราความชุกของโรคเบาหวานชนิดที่ 2 และภาวะแทรกซ้อน โรคหลอดเลือดหัวใจ และศึกษาปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการเกิดโรคเบาหวานชนิดที่ 2 และภาวะแทรกซ้อน โรคหลอดเลือดหัวใจ ในกลุ่มผู้สูงอายุของ เมืองกาฐมาณฑุ ประเทศเนปาล วิธีการศึกษา: เป็นการศึกษาวิจัยเชิงพรรณนา แบบภาคตัดขวาง กลุ่มประชากรที่ศึกษาคือกลุ่มผู้สูงอายุ อายุ 60 ปี ขึ้นไป จำนวน 306 คน ที่อาศัยอยู่ในพื้นที่เขตเมืองและชนบท ของอำเภอเมืองกาฐมาณฑุ วิธีการศึกษาโดยการจัดเก็บข้อมูลจากการเยี่ยมบ้านและใช้แบบสอบถามสัมภาษณ์ โดยการวัดค่าดัชนีมวลกาย การวัดค่าความดันโลหิต และการตรวจหาค่าปริมาณน้ำตาลกลูโคสในเลือด โดยใช้เครื่องมือทางการแพทย์ที่ได้มาตรฐาน หากพบว่าป่วยด้วยโรคเบาหวานในระหว่างการเยี่ยมบ้านนั้นได้เชิญให้เข้าค่ายบำบัดรักษาสุขภาพ โดยได้รับบริการตรวจร่างกายอย่างละเอียด และตรวจค้นหาภาวะแทรกซ้อน โรคหลอดเลือดหัวใจด้วย สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือ ความสัมพันธ์แบบถดถอย 2 ตัวแปร โดยมีนัยสำคัญทางสถิติเท่ากับ 0.05 ผลการศึกษา: พบว่าอัตราความชุกของโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ร้อยละ 23.5 ซึ่งคล้ายกับผลการศึกษาก่อนหน้านี้ในเมืองกาฐมาณฑุและพบผู้ป่วยรายใหม่ที่ได้รับการวินิจฉัยในช่วงการสำรวจ ร้อยละ 26.3 ร้อยละ 43.1 พบว่ามีปัจจัยที่สำคัญหนึ่งปัจจัยหรือมากกว่า คือภาวะแทรกซ้อน โรคหลอดเลือดหัวใจ การออกกำลังกายที่ไม่เพียงพอ การไม่ควบคุมอาหาร การรับประทานอาหารชนิดที่มีไขมันสูง มีประวัติคนครอบครัวป่วยด้วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 มีภาวะโรคความดันโลหิตสูงและมีประวัติของโรคเบาหวานในขณะตั้งครรภ์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ มีความสัมพันธ์เชิงบวกกับการป่วยด้วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ร่วมกับ ภาวะอ้วน และระยะเวลาการป่วยด้วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ และมีความสัมพันธ์เชิงบวกกับภาวะแทรกซ้อน จากโรคหลอดเลือดหัวใจ ในผู้ป่วยด้วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 สรุป: อัตราความชุกของผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 และภาวะแทรกซ้อน โรคหลอดเลือดหัวใจ มีอัตราความชุกสูงขึ้นในกรุงกาฐมาณฑุ ประเทศเนปาล โดยไม่มีการเฝ้าระวังและคัดกรองเพื่อค้นหาผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 และโรคหลอดเลือดหัวใจ ปัญหาดังกล่าวควรได้รับการแก้ไขและส่งเสริมสนับสนุน ด้านนโยบายและกลยุทธ์ในการดำเนินการควบคุมป้องกันโรคดังกล่าวอย่างเป็นรูปธรรมที่ชัดเจน รวมไปถึงการเข้าถึงระบบการดูแลสุขภาพ การให้ความรู้สุขศึกษาเกี่ยวกับโรค และการเสริมสร้างความตระหนักในเรื่องการควบคุมป้องกันการเกิดโรคเบาหวานชนิดที่ 2 เพื่อลดภาระค่าใช้จ่ายทางด้านสุขภาพที่มีแนวโน้มที่สูงขึ้น
Description: Thesis (M.P.H.) -- Chulalongkorn University, 2011
Degree Name: Master of Public Health
Degree Level: Master's Degree
Degree Discipline: Public Health
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/21880
URI: http://doi.org/10.14457/CU.the.2011.1610
metadata.dc.identifier.DOI: 10.14457/CU.the.2011.1610
Type: Thesis
Appears in Collections:Pub Health - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
abhishek_ri.pdf2.18 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.