Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/2209
Title: การศึกษาวิธีการควบคุมปริมาณการส่งข้อมูลแบบ ABR ใน ATM เน็ทเวอร์ค : รายงานผลการวิจัย
Other Titles: A study of techniques for controlling ABR traffic in ATM networks
Authors: ลัญฉกร วุฒิสิทธิกุลกิจ
Email: wlunchak@chula.ac.th
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า
Subjects: เอทีเอ็ม (การสื่อสารข้อมูล)
ระบบสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
Issue Date: 2542
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: รายงานวิจัยฉบับนี้กล่าวถึงการศึกษาวิธีการควบคุมปริมาณการส่งข้อมูลแบบ ABR ภายในโครงข่าย ATM จำนวน 2 วิธี คือ EFCI และ ERICA+ วิธีการทั้งสองแบบมีคุณลักษณะที่แตกต่างกันคือ วิธี EFCI เป็นวิธีที่เรียบง่าย ไม่ซับซ้อน ต้องการปริมาณข่าวสารที่ใช้ในการป้อนกลับเพื่อควบคุมการส่งของแหล่งกำเนิดข้อมูลเพียงบิตเดียว ในขณะที่วิธีการควบคุมแบบ ERICA+ นั้น สวิตช์มีการคำนวณที่ซับซ้อนมากขึ้นกว่าวิธี EFCI และสวิตช์มีบทบาทสำคัญในการควบคุมอัตราการส่งของแหล่งข้อมูลแต่ละแห่งโดยตรง ในการวัดและเปรียบเทียบถึงสมรรถนะของแต่ละวิธีนั้นจะพิจารณาจาก ปริมาณหรืออัตราการส่งที่แหล่งกำเนดข้อมูลแต่ละแห่งส่งได้ ขนาดของคิวภายในสวิตช์ ความเท่าเทียมกันของแหล่งกำเนิดแต่ละแห่งในการส่งข้อมูล และประสิทธิภาพของการใช้ช่องสัญญาณภายในระบบ จากผลการศึกษาโดยอาศัยการจำลองสถานการณ์ด้วยคอมพิวเตอร์ พบว่าวิธีแบบ ERICA+ มีสมรรถนะทีดีกว่าวิธีแบบ EFCI ในแทบทุกด้าน แต่กระนั้นสวิตช์แบบ ERICA+ มีการทำงานที่ซับซ้อนมากกว่าแบบ EFCI
Other Abstract: This research report describes a study of 2 different techniques for controlling ABR traffic in ATM networks, namely EFCI and ERICA+. The first technique (EFCI) is rather simple. Only a single bit is needed for conveying feedback information back to all sources. Whereas the second technique (ERICA+) requires much more complex processing than the first. All the switched have impacts and play a very important role in controlling the bit rate of each information source. The perfromance of each technique is evaluation in terms of allowed cell rates, buffer sizes, fairness and transmission channel utilization. Through simulations, the results showed that ERICA+ performs better than EFCI in most aspects. Nevertheless, its operation is more complex.
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/2209
Type: Technical Report
Appears in Collections:Eng - Research Reports

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Lunchakorn(abr).pdf6.29 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.