Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/22326
Title: | Caging of rigid polytopes via dispersion control of point fingers |
Other Titles: | การกักขังวัตถุทรงหลายเหลี่ยมแข็งเกร็งด้วยการควบคุมการกระจายตัวของนิ้วจุด |
Authors: | Peam Pipattanasomporn |
Advisors: | Attawith Sudsang |
Other author: | Chulalongkorn University. Faculty of Engineering |
Advisor's Email: | Attawith.S@Chula.ac.th |
Subjects: | Manipulators (Mechanism) -- Automatic control Robotics แขนกล -- การควบคุมอัตโนมัติ วิทยาการหุ่นยนต์ |
Issue Date: | 2011 |
Publisher: | Chulalongkorn University |
Abstract: | This dissertation addresses the problem of object caging. The author proposes approaches for designing “cages” by means of imposing simple constraints to control the manipulator. Each designed cage is represented in the form of a finger placement relative to the object and its error tolerance. The error tolerance determines how much the fingers may deform based on a measure. The proposed approaches are based on decomposing the workspace into convex subsets, then constructing a roadmap to identify possible cages for a given system. After a roadmap is constructed, it is possible to query if a finger placement forms a cage or enumerate all the cages efficiently. The approaches can be extended to handle constrained fingers and/or uncertainty in the system. |
Other Abstract: | วิทยานิพนธ์ฉบับนี้มุ่งเน้นการแก้ปัญหาการกักขังวัตถุ ผู้จัดทําเสนอแนวทางในการออกแบบกรงขัง โดยการบังคับควบคุมที่ไม่ซับซ้อนผ่านเครื่องควบคุม การออกแบบกรงขังทําได้โดยการกําหนดจุดวางตําแหน่งนิ้วของเครื่องควบคุมเทียบกับตัววัตถุ และบอกถึงขอบเขตความผิดพลาดที่ยอมรับได้สําหรับการวางตําแหน่ง โดยที่ขอบเขตความผิดพลาดที่ยอมรับได้นั้น วัดจากมาตรวัดตัวหนึ่ง แนวทางที่นําเสนอใช้การแบ่งปริภูมิเป็นชิ้นส่วนย่อยเว้าเป็นพื้นฐาน เพื่อที่จะสร้างแผนผังการเดินทางสําหรับการค้นหากรงขังที่เป็นไปได้ สําหรับระบบที่กําหนดให้ เมื่อแผนผังการเดินทางได้ถูกสร้างขึ้น ผู้ใช้สามารถสอบถามเพื่อที่จะทราบว่าการวางตําแหน่งนิ้วแบบที่กําหนดให้ มีสภาพเป็นกรงขังวัตถุสําหรับระบบที่ให้มาหรือไม่ หรือขอรายการกรงขังวัตถุทั้งหมดที่เป็นไปได้ในระบบอย่างมีประสิทธิภาพ แนวทางดังกล่าวสามารถนําไปขยายผล เพื่อจัดการกลุ่มนิ้วที่มีข้อจํากัด และ/หรือ สําหรับจัดการกับความไม่แน่นอนในระบบ |
Description: | Thesis (D.Eng.)--Chulalongkorn University, 2011 |
Degree Name: | Doctor of Engineering |
Degree Level: | Doctoral Degree |
Degree Discipline: | Computer Engineering |
URI: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/22326 |
URI: | http://doi.org/10.14457/CU.the.2011.1641 |
metadata.dc.identifier.DOI: | 10.14457/CU.the.2011.1641 |
Type: | Thesis |
Appears in Collections: | Eng - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
peam_pi.pdf | 3.05 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.