Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/2277
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | สฤทธิ์เดช พัฒนเศรษฐพงษ์ | - |
dc.contributor.author | ขวัญชัย ลีเผ่าพันธุ์ | - |
dc.contributor.author | ภิญโญ มีชำนะ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ภาควิชาวิศวกรรมเหมืองแร่และธรณีวิทยาเหมืองแร่ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ภาควิชาวิศวกรรมเหมืองแร่และธรณีวิทยาเหมืองแร่ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ภาควิชาวิศวกรรมเหมืองแร่และธรณีวิทยาเหมืองแร่ | - |
dc.date.accessioned | 2006-08-28T10:35:28Z | - |
dc.date.available | 2006-08-28T10:35:28Z | - |
dc.date.issued | 2532 | - |
dc.identifier.isbn | 9747774062 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/2277 | - |
dc.description.abstract | ข้อมูลจากการทำงานของเรือขุดแร่ดีบุกนอกชายฝั่งทะเลในเขตท้องที่จังหวัดภูเก็ต และจังหวัดพังงา ได้ถูกรวบรวมศึกษาและวิเคราะห์ เพื่อเปรียบเทียบประสิทธิภาพของเรือขุดแร่แบบต่าง ๆ เพื่อหาแนวทางในการออกแบบเรือขุดแร่ดีบุกที่เหมาะสมกับสภาพการทำงานภายในประเทศ จากการศึกษาพบว่า เรือขุดแร่แบบ Bucket Dredge ใช้จำนวนแรงม้าของเครื่องยนต์ติดตั้งบนเรือขุดน้อยกว่าแบบของเรือขุดแบบ Suction Cutter ถึง 3 เท่า และขนาดของลำตัวเรือขุดมีส่วนสัมพันธ์กับขนาดของเรือขุดแร่แบบต่าง ๆ เห็นได้ชัดเจน นอกจากนั้น พื้นที่ผิวจิ๊กต่ออัตราแร่ป้อน (ตารางเมตร/ลูกบาศก์เมตร/ชั่วโมง) พบว่า เป็นแนวทางที่ใช้ในการพิจารณาจำนวนจิ๊กชุดที่ 1 บนเรือขุดได้ การทำงานของเรือขุดนั้น ส่วนใหญ่มีประสิทธิภาพรวมเพียง 70% ของที่ออกแบบว้า และเรือขุดแร่แบบบักเก็ตจะขุดดินทรายได้ 80-160 ลูกบาศก์เมตร/แรงม้า/เดือน และเรือขุดดัดแปลง (Modified Suction Cutter Dredge) ขุดดินทรายได้ 55-70 ลูกบาศก์เมตร/แรงม้า/เดือน และเรือดัน (Suction Boat) ขุดดินทรายได้ 7-15 ลูกบาศก์เมตร/แรงม้า/เดือน ค่าใช้จ่ายในการดำเนินงานของเรือขุดเฉลี่ยประมาณ 15-27 บาท/ลูกบาศก์เมตร โดยที่เรือขุดดัดแปลงมีค่าใช้จ่ายดำเนินงาน 10-16 บาท/ลูกบาศก์เมตร เรือดันมีค่าใช้จ่ายประมาณ 22-30 บาท/ลูกบาศก์เมตร ในรายงานได้มีการพิจารณาแนวทางการออกแบบเรือขุดแร่ดีบุกในประเด็นต่าง ๆ ได้แก่ ขนาดของลำตัวเรือขุด ระบบเครื่องยนต์ต้นกำลัง การวางเครื่องจักร การเลือกประเภทของเรือขุดแร่ อุปกรณ์ควบคุมการขุดแร่ ระบบการลดแรงกระแทกและการแต่งแร่บนเรือขุด | en |
dc.format.extent | 45458859 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | en |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | เรือขุด | en |
dc.subject | เหมืองแร่ในทะเล--ไทย | en |
dc.subject | ดีบุก | en |
dc.title | การเปรียบเทียบประสิทธิภาพเรือขุดแร่ดีบุก ในโครงการศึกษาประสิทธิภาพการทำเหมืองแร่ในทะเล | en |
dc.type | Technical Report | en |
dc.email.author | Sarithdej.P@Chula.ac.th | - |
dc.email.author | Quanchai.L@Chula.ac.th | - |
Appears in Collections: | Eng - Research Reports |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Kwanchai(dred).pdf | 44.55 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.