Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/22902
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุภาพ วาดเขียน-
dc.contributor.authorณัฐ อัญชันภาติ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2012-10-28-
dc.date.available2012-10-28-
dc.date.issued2522-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/22902-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2522en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้ มีจุดประสงค์เพื่อศึกษาความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ การอาหารของครูโรงเรียนมัธยมศึกษาในกรุงเทพมหานคร ตลอดจนความคิดเห็นเกี่ยวกับหลักสูตรและการเรียนการสอนความรู้ด้านวิทยาศาสตร์การอาหาร ตัวอย่างประชากร เป็นครูโรงเรียนมัธยมศึกษาในกรุงเทพมหานคร 15 แห่ง จำนวน 400 คน เป็นครูวิทยาศาสตร์จำนวน 100 คน และครูสายวิชาอื่นๆ 300 คน การวิจัยได้ดำเนินเป็นขั้นๆ คือ ศึกษาเนื้อหาวิชาเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์การอาหารในเรื่อง สิ่งปรุงแต่ง สี กลิ่น รสอาหาร สารที่ใส่อาหาร เพื่อกันบูดเสีย สิ่งปลอมปนในอาหาร ภาชนะบรรจุอาหาร การเสื่อมเสียคุณภาพและความเป็นพิษในอาหาร จากตำราและเอกสารทางวิชาการต่างๆ สร้างแบบสอบความรู้และแบบสอบถามความคิดเห็นนำไปทดสอบกับครูโรงเรียนมัธยมศึกษาในกรุงเทพมหานครอีกกลุ่มหนึ่ง เพื่อหาค่าจำแนกระดับความยากง่าย และความเที่ยง แล้วนำไปทดสอบกับตัวอย่างประชากรดังกล่าวแล้ว ผลการวิจัย ปรากฏว่า ครูวิทยาศาสตร์จำนวนร้อยละ 47 จากจำนวน 100 คน และครูสายวิชาอื่นๆ จำนวนร้อยละ 44.33 จากจำนวน 300 คน ได้คะแนนจากแบบ สอบถามความรู้ตั้งแต่ร้อยละ 50 ขึ้นไป ของคะแนนเต็ม 50 คะแนน เมื่อคิดรวมทั้งครูวิทยาศาสตร์และครูสายวิชาอื่นๆ จำนวนร้อยละ 45 ได้จากคะแนนจากแบบสอบความรู้ตั้งแต่ร้อยละ 50 ขึ้นไป ของคะแนนเต็ม 50 คะแนน ความรู้และความเข้าใจเรื่องวิทยาศาสตร์การอาหารของครูวิทยาศาสตร์และของครูสายวิชาอื่นๆ ไม่แตกต่างกันที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ .05 ความคิดเห็นของครูในโรงเรียนมัธยมศึกษาในกรุงเทพมหานคร ต้องการให้ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์การอาหาร มีไว้ในหลักสูตรฝึกหัดครู โดยเป็นวิชาบังคับ และหรือเป็นวิชาเลือก ส่วนในหลักสูตรระดับมัธยมศึกษา ต้องการให้เป็นวิชาบังคับ และครูส่วนใหญ่ยังนำความรู้เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์การอาหารไปใช้ในการเรียนการสอนหรือปฏิบัติในชีวิตประจำวันด้วย-
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was to study the knowledge and understanding of secondary school teachers in Bangkok Metropolis concerning food science as well as their opinions on food science curriculum and teaching-learning process. The samples were 100 science teachers and 300 non-science teachers at15 secondary schools in Bangkok Metropolis. Research procedures were as follows. The contents about food additives such as coloring matters, flavor potentiators, preservating agents, food contaminations, food containers and food poisoning were studied from textbooks and journals. A test about food science knowledge and a questionnaire concerning the secondary school teachers' opinions on food science curriculum and teaching-leaning process were constructed. The test and questionnaire were pre-bested with the other group of secondary school teachers in Bangkok Metropolis. Then the discrimination power, degree of difficulty and reliability of the test were calculated before administering to the closen sample. It was found that 47 percent of 100 science teachers and 44.33 percent of 300 non-science teachers got 50 % and over on the test. About 45 percent of 400 science and non-science teachers altogether got 50 % and over. The knowledge of science and non-science teachers was not significantly different at the level of .05. According to secondary school teachers' opinions, they prefered the knowledge of food science to be integrated in the teacher education curriculum as a required course or an elective course and in the secondary curriculum as a required course. Most of the teachers used knowledge of food science not only in teaching-learning process, but also in their daily life.-
dc.format.extent463369 bytes-
dc.format.extent602338 bytes-
dc.format.extent2045465 bytes-
dc.format.extent480054 bytes-
dc.format.extent510910 bytes-
dc.format.extent413202 bytes-
dc.format.extent1276243 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.titleความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์การอาหาร ของครูโรงเรียนมัธยมศึกษาในกรุงเทพมหานคen
dc.title.alternativeKnowledge and understanding about food science of secondary school teachers in Bangkok Metropolisen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineมัธยมศึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
natt_an_front.pdf452.51 kBAdobe PDFView/Open
natt_an_ch1.pdf588.22 kBAdobe PDFView/Open
natt_an_ch2.pdf2 MBAdobe PDFView/Open
natt_an_ch3.pdf468.8 kBAdobe PDFView/Open
natt_an_ch4.pdf498.94 kBAdobe PDFView/Open
Natt_An_ch5.pdf403.52 kBAdobe PDFView/Open
natt_an_back.pdf1.25 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.