Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/23066
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอุทุมพร ทองอุไร
dc.contributor.authorไพรวัลย์ พิทักษ์สาลี
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
dc.date.accessioned2012-11-03T04:35:48Z
dc.date.available2012-11-03T04:35:48Z
dc.date.issued2523
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/23066
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2523en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประสิทธิผลการสอน โดยครูประเมินตนเอง และประเมินโดยนักเรียนกับภูมิหลังของครู พร้อมทั้ง สร้างสมการพยากรณ์ผลประเมินประสิทธิผลการสอนของครู 2 สมการ สมการหนึ่งมีตัวเกณฑ์คือ ผลประเมินประสิทธิผลการสอนที่ได้จากครูประเมินตนเอง อีกสมการณ์หนึ่งมีตัวเกณฑ์คือ ผลประเมินประสิทธิผลการสอนที่ได้จากนักเรียนประเมินโดยมีตัวพยากรณ์คือ ภูมิหลังของครูทั้งหมด 2 สมการ กลุ่มตัวอย่างเป็นครูและนักเรียนที่สอนและเรียนในระดับมัธยมศึกษาปีที่ 4 ปีการศึกษา 2522 ภาคเรียนที่ 1 ในเขตกรุงเทพมหานคร จำนวน 2,286 คน (เป็นครู 300 คน, นักเรียน 1,986 คน) เครื่องมือที่ใช้คือ แบบประเมินประสิทธิผลการสอนที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นวิเคราะห์ข้อมูลโดยทดสอบค่าสถิติไคสแควร์ (x2) เพื่อความสัมพันธ์ระหว่างภูมิหลังของครูกับผลประเมินประสิทธิผลการสอนของครู โดยครูประเมินตนเองและประเมินโดยนักเรียน และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์พหุคูณ ค่าทดสอบเอฟ เพื่อสร้างสมการพยากรณ์ผลประเมินประสิทธิภาพการสอนของครู ข้อค้นพบ 1. อายุของครู ประสบการณ์ (จำนวนปี) ในการสอน ความรักในอาชีพครู มีความสัมพันธ์กับผลประเมินประสิทธิผลการสอนโดยครูประเมินตนเองส่วน เพศของครู วุฒิการศึกษา การได้ผ่านการอบรมในวิชาที่สอน และการได้สอนตรงตามวิชาเอกโทที่เรียนมาของครูนั้น ยังไม่มีหลักฐานพอที่จะสรุปได้ว่ามีความสัมพันธ์กับผลประเมินประสิทธิผลการสอนโดยครูประเมินตนเอง 2. ยังไม่มีหลักฐานพอที่จะสรุปได้ว่า ภูมิหลังของครูทั้ง 7 อย่างมีความสัมพันธ์กับผลประเมินประสิทธิผลการสอนของครู ซึ่งประเมินโดยนักเรียน ดังนั้นจึงมิได้สร้างสมการณ์พยากรณ์ประสิทธิผลการสอนของครูซึ่งประเมินโดยนักเรียน จากภูมิหลังทั้ง 7 อย่างของครู 3. ยังไม่มีหลักฐานพอที่จะสรุปได้ว่า ผลประเมินประสิทธิผลการสอนโดยครูประเมินตนเอง และนักเรียนเป็นผู้ประเมิน มีความสัมพันธ์กัน 4. ประสบการณ์ (จำนวนปี) ในการสอน และความรักในอาชีพครูสามารถใช้ทำนายผลประเมินประสิทธิผลการสอน โดยครูประเมินตนเองได้ ด้วยความคลาดเคลื่อนมาตรฐานในการพยากรณ์เท่ากับ 9.7467 ซึ่งสมการพยากรณ์สามารถเขียนในรูปคะแนนดิบ และคะแนนมาตรฐาน ได้ดังนี้ : Ŷ₁ = 93.1672 + 2.5765X₄+ - 3.8685X7 Z ̂₁ = o2222Z₄ - .1331Z₇
dc.description.abstractalternativeThe purposes of the Thesis are to investigate the relationship between rating scores on teaching effectiveness, by self as well as by students, and teachers’ background variables, namely; sex, age, level of education, experience (number of years), training on the course she teaches, the course agreeable to their major and finally teaching professional affection. The study includes Matayom Suksa Four students and teachers of the same schools, 1,986 students and 300 teachers. The instrument used to collect the needed information is the Teaching Effective¬ness Rating Scale constructed by the researcher. The tool was tried out and proved to be high reliable and valid. The data are analyzed by the appropriate statistics such as Chi-Square Test, the Multiple Correlation Analysis, the F-test and the regression Analysis. Findings The research findings are as follows: 1) The background variables which are correlated With the ratings by teachers are age, experience and the teaching professional affection (P<.05). 2) The significant background variables of the teachers which are associated with the ratings by students are inevident. 3) There is no evident to support the hypothesis of the dependence of the two types of ratings, 4) The significant predicted variables are used to constructed the multiple regression equations in respectively raw scores and standard scores as: : Ŷ₁ = 93.1672 + 2.5765X₄+ - 3.8685X7 Z ̂₁ = o2222Z₄ - .1331Z₇
dc.format.extent452368 bytes
dc.format.extent466538 bytes
dc.format.extent878918 bytes
dc.format.extent597844 bytes
dc.format.extent705654 bytes
dc.format.extent426100 bytes
dc.format.extent751735 bytes
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการสอน -- การประเมิน
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างประสิทธิผลในการสอนกับภูมิหลังของครูen
dc.title.alternativeThe relationship between teaching effectiveness and teacher's backgrounden
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิจัยการศึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Praiwan_Pi_front.pdf441.77 kBAdobe PDFView/Open
Praiwan_Pi_ch1.pdf455.6 kBAdobe PDFView/Open
Praiwan_Pi_ch2.pdf858.32 kBAdobe PDFView/Open
Praiwan_Pi_ch3.pdf583.83 kBAdobe PDFView/Open
Praiwan_Pi_ch4.pdf689.12 kBAdobe PDFView/Open
Praiwan_Pi_ch5.pdf416.11 kBAdobe PDFView/Open
Praiwan_Pi_back.pdf734.12 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.