Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/23123
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกีรติ บุญเจือ-
dc.contributor.authorภัทรพร สิริกาญจน-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2012-11-05T08:56:35Z-
dc.date.available2012-11-05T08:56:35Z-
dc.date.issued2520-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/23123-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (อ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2520en
dc.description.abstractตามทัศนะของค้านท์ มนุษย์เป็นสัตว์ที่มีผล เหตุผลอยู่ในจิตมนุษย์มาตั้งแต่เดิมหาต้นตอไม่ได้ มันเป็นสิ่งสากลและมีเสรีภาพเป็นพื้นฐาน ในเรื่องเกี่ยวกับความรู้ เหตุผลเป็นตัวการสำคัญในการจัดระเบียบข้อมูลตัดสินข้อมูลทุกประเภทของจิตมนุษย์ และทำให้ความรู้ของมนุษย์เป็นทั้งอัตนัยและปรนัย เหตุผลมีบทบาทหน้าที่อยู่ 2 ประการ คือ เป็นเหตุผลภาคทฤษฎีและเหตุผลภาคปฏิบัติ เหตุผลภาคทฤษฎีมีหน้าที่หยั่งรู้เรื่องราวภายในขอบเขตโลกแห่งปรากฏการณ์ ส่วนเหตุผลภาคปฏิบัติมีหน้าที่หยั่งรู้เรื่องราวเหนือโลกแห่งปรากฏการณ์และทำให้มนุษย์รู้จักโลกปรมัตถ์ การพยายามใช้เหตุผลภาคทฤษฎีเพื่อตอบปัญหาที่เหนือประสบการณ์ของมนุษย์จะทำให้เกิดปฏิบท ในเรื่องเกี่ยวกับศีลธรรมเหตุผลภาคปฏิบัติเป็นผู้สร้างคำสั่งเด็ดขาด ในขณะที่เหตุผลภาคทฤษฏีเป็นผู้สร้างคำสั่งจากสมมุติฐานเนื่องจากปรัชญาของเค้าท์เป็นเรื่องที่เข้าใจได้ยาก และบางประเด็นไม่มีความชัดเจนเพียงพอ จึงทำให้มีนักวิจารณ์หลายท่านถกเถียงกันเกี่ยวกับความคิดบางประเด็นของเค้าท์และมองเห็นว่า “เหตุผล” ของเค้าท์ตอบปัญหาเรื่องความเป็นจริงสูงสุดไม่ได้ ค้านท์พยามยามใช้เหตุอธิบายสิ่งที่เหตุผลไม่อาจอธิบายได้ นอกจากนั้นค้านท์ยังยืนยันว่า ความรู้ของมนุษย์จำกัดอยู่ภายในขอบเขตของมโนภาพเท่านั้น ซึ่งในแง่นี้ ย่อมเป็นการปฏิเสธว่ามนุษย์ไม่สามารถรอบรู้ในสิ่งที่ปรากฏออกมาในรูปอื่น ด้วยเหตุนี้ ปรัชญาของเค้าท์จึงเป็นสิ่งที่น่าสนใจและควรทำการวิจัยในขั้นตอนต่อไป
dc.description.abstractalternativeAccording to Kant, man is a rational being. In human mind, there is reason of which we can find no origin. It is universal and based upon freedom. On account of knowledge, reason is the important agent to organize objects, judge every kinds of objects of human mind and accordingly human knowledge is both subjective and objective. Reason has 2 roles : speculative reason and practical reason. The role of the former is to know anything within the limit of phenomenal world, whereas the role of the latter is to know anything beyond phenomenal world and to reveal noumenal world. Trying to use speculative reason in order to answer any transcendental problems may involve antino¬mies. On account of morality, practical reason produces categorical imperative, whereas speculative reason produces hypothetical imperative. Since Kant's philosophy is rather difficult to understand and some issues are obscure, a lot of critics argue at them and see that Kant’s “reason” cannot answer any problem about ultimate reality but he tries to use reason to explain things beyond the capacity of reason. Moreover, he asserts that human knowledge is confined to concepts so that man cannot know any¬thing in other forms. All things considered, Kant’s philosophy is of interest and needs further research.
dc.format.extent848745 bytes-
dc.format.extent3063870 bytes-
dc.format.extent2156236 bytes-
dc.format.extent3925702 bytes-
dc.format.extent4394268 bytes-
dc.format.extent561660 bytes-
dc.format.extent503075 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectคานท์, อิมมานูเอล, ค.ศ. 1724-1804
dc.titleบทบาทของเหตุผลในงานเขียนของค้านท์en
dc.title.alternativeThe role of reason in Kant's worken
dc.typeThesises
dc.degree.nameอักษรศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineปรัชญาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Pataraporn_Si_front.pdf828.85 kBAdobe PDFView/Open
Pataraporn_Si_ch1.pdf2.99 MBAdobe PDFView/Open
Pataraporn_Si_ch2.pdf2.11 MBAdobe PDFView/Open
Pataraporn_Si_ch3.pdf3.83 MBAdobe PDFView/Open
Pataraporn_Si_ch4.pdf4.29 MBAdobe PDFView/Open
Pataraporn_Si_ch5.pdf548.5 kBAdobe PDFView/Open
Pataraporn_Si_back.pdf491.28 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.